ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมอตำแย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
การคลอดลูกด้วยหมอตำแยนั้น หาหมอตำแยได้ยากมากแล้วคนรุ่นหลังก็ควรอนุรักษ์ไว้เพื่อคงอย...
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Eucharius Rößlin Rosgarten Childbirth.jpg|thumb|หมอตำแยในคริสต์ศตวรรษที่ 15]]
'''หมอตำแย''' หมายถึง ผู้ที่ช่วยทำ[[คลอด]]ให้กับผู้หญิง ในสถานที่ที่ไม่มีระบบ[[การแพทย์]]ที่ทันสมัย ปัจจุบันก็ยังมีหมอตำแยอยู่ตามชนบทที่ห่างไกลความเจริญ
 
หมอตำแยแบบแพทย์แผนไทย
เมื่อหมอตำแยจัดการกับลูกเรียบร้อยแล้ว ก็จะหันมาดูแลแม่ซึ่งยังนอนอยู่ด้วยความอ่อนเพลียด้วยการเช็ดเลือดฝาด ผลัดผ้าที่เปื้อนเลือด เช็ดตัวอาบน้ำให้สะอาด จากนั้นให้กินน้ำมะขามเปียกคั้นผสมเกลือให้ออกรสเค็มเพื่อต้องการรุถ่ายให้ท้องสะอาด โดยเจาะกระดานหรือฟากที่บริเวณคลอดไว้ให้เป็นร่องสำหรับถ่ายจะได้สะดวก ต้องหากิ่งพุทรามาสระไว้ที่ร่องส้วมจนกว่าแม่เด็กจะออกไฟ คนโบราณเชื่อสืบต่อกันมาว่า กิ่งพุทรากันผีกระสือมาล้วงตับได้ เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้วแม่ก็เตรียมตัวขึ้นนั่งบนกระดานไฟได้ การขึ้นกระดานไฟนี้ถ้าคนคลอดแข็งแรงก็ขึ้นเองได้ แต่ถ้าไม่แข็งแรงก็จะมีหมอตำแยและญาติมิตรช่วยกันประคอง การขึ้นกระดานไฟนั้นเมื่อ 50 ปีก่อน หมอตำแยคิดสองบาท
วิธีการของหมอตำแย
ตอนเริ่มอยู่ไฟใหม่ๆ ก่อนกินอาหารเช้าและเย็นแม่ลูกอ่อนทุกคนจะนิยมกินยาดองเหล้า บางคนที่มีฐานะก็จะกินยาดองจีน กินไปจนกว่าน้ำคาวปลาจะแห้ง แต่หญิงแม่ลูกอ่อนส่วนใหญ่จะนิยมกินยาดองอยู่ไฟตำหรับไทย ใช้สมุนไพรไทย เช่น ขิง ข่า ไพล ผิวมะกรูด ว่าน