ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลรัฐธรรมนูญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 3644774 สร้างโดย 125.25.134.172 (พูดคุย)
บรรทัด 8:
 
ในหลาย ๆ ประเทศ ไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นเอกเทศ ทว่า ศาลยุติธรรมตามธรรมดาจะรับคดีเช่นว่าเอง นอกจากนี้ ในหลาย ๆ ประเทศก็ไม่เรียกองค์กรนี้ว่า "ศาลรัฐธรรมนูญ" และบางประเทศก็เรียกศาลยุติธรรมว่าศาลรัฐธรรมนูญ เช่น [[ศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกา]]ได้ชื่อว่าเป็น "ศาลรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ที่สุดในโลก" เพราะเป็นศาลแรกในโลกที่วินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายต่าง ๆ ([[คดีระหว่างมาร์บิวรี กับเมดิซัน]]) แม้ว่าในประเทศสหรัฐอเมริกาจะไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นการเฉพาะก็ตาม ส่วนประเทศที่สถาปนาศาลรัฐธรรมนูญอย่างเอกเทศเป็นแห่งแรกของโลกนั้น คือ [[ประเทศออสเตรีย]] ซึ่งดำเนินการใน ค.ศ. 1920 แม้ว่าจะถูกเลื่อนไปในราว ๆ ค.ศ. 1934 ถึง 1945 ตามรัฐธรรมนูญที่จัดตั้งศาลนั้น อนึ่ง ก่อนหน้านี้ มีเพียงสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียเท่านั้นที่รับเอาทฤษฎี[[การทบทวนโดยฝ่ายตุลาการ]]มาใช้ในศาลสูงสุดของประเทศตน
 
ในประเทศไทยศาลรัฐธรรมนูญได้ถูกจัดตั้งมาเมื่อปี พ.ศ.2540
ผู้มีหน้าที่พิจารณาคดีในศาล เรียกว่า "ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ" มีจำนวนทั้งหมด 8 คน รวม"ประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ" อีก 1 คน เป็นจำนวนทั้งหมด 9 คน
3 ใน 9 คนนั้นมาจากศาลฎีกา
5 ใน 9 คน เป็นผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนิติศาสตร์ 4 ใน 9 คน เป็นผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านรัฐศาสตร์
 
[[หมวดหมู่:ศาลรัฐธรรมนูญ| ]]