ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาสมุทรอาร์กติก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Arctic_Ocean.png|thumb|มหาสมุทรอาร์กติก]]
{{มหาสมุทรในโลก}}
[[ไฟล์:Arctic_Ocean.png|thumb|มหาสมุทรอาร์กติก]]
'''มหาสมุทรอาร์กติก''' ({{lang-en|Arctic Ocean}}) ตั้งอยู่ใน[[ซีกโลกเหนือ]] และส่วนใหญ่อยู่ในเขต[[ขั้วโลกเหนือ]][[อาร์กติก]] เป็นมหาสมุทรขนาดเล็กที่สุดและตื้นเขินที่สุดในห้ามหาสมุทรตามการแบ่งมหาสมุทรหลักของโลก<ref name=Pidwirny>{{cite web | title=Introduction to the Oceans| work=www.physicalgeography.net| url=http://www.physicalgeography.net/fundamentals/8o.html | author=Michael Pidwirny|year=2006 | accessdate=2006-12-07 }}</ref> องค์กรอุทกศาสตร์โลก (IHO) ยอมรับว่ามหาสมุทรอาร์กติกเป็นมหาสมุทร แม้นักอุทกศาสตร์บางคนจะเรียกบริเวณนี้ว่า ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนอาร์กติก หรือเรียกง่าย ๆ ว่า ทะเลอาร์กติก โดยจัดว่าบริเวณนี้เป็นหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของ[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]<ref>{{ หรืออาจมองว่าCite เป็นส่วนเหนือสุดของมหาสมุทรโลกที่ล้อมรอบทั้งหมดbook
| first=Matthias
| last=Tomczak
| first2=J. Stuart
| last2=Godfrey
| title=Regional Oceanography: an Introduction
| edition=2
| year=2003
| publisher=Daya Publishing House
| place=Delhi
| isbn=81-7035-306-8
| url=http://www.es.flinders.edu.au/~mattom/regoc/
| postscript=<!--None-->
}}</ref> หรืออาจมองว่า เป็นส่วนเหนือสุดของมหาสมุทรโลกที่ล้อมรอบทั้งหมด
 
มหาสมุทรอาร์กติกครอบคลุมแอ่งรูปร่างเกือบเป็นวงกลม มีพื้นที่ 14,090,000 ตารางกโลเมตร ล้อมรอบด้วย[[ทวีปยุโรป]] [[ทวีปเอเชีย]] [[ทวีปอเมริกาเหนือ]] และ[[กรีนแลนด์]] รวมทั้งเกาะต่างๆ และ[[ทะเลแบเร็นตส์]] (Barents Sea) [[ทะเลโบฟอร์ต]] (Beaufort Sea) [[ทะเลชุกชี]] (Chukchi Sea) [[ทะเลคารา]] (Kara Sea) [[ทะเลลัปเตฟ]] (Laptev Sea) [[ทะเลไซบีเรียตะวันออก]] (East Siberian Sea) [[ทะเลลิงคอล์น]] (Lincoln Sea) [[ทะเลแวนเดล]] (Wandel Sea) [[ทะเลกรีนแลนด์]] (Greenland Sea) และ[[ทะเลนอร์เวย์]] (Norwegian Sea) เชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกที่[[ช่องแคบเบริง]] (Bering Strait) และเชื่อมกับมหาสมุทรแอตแลนติกที่ทะเลกรีนแลนด์
 
มหาสมุทรอาร์กติกบางส่วนปกคลุมด้วยทะเลน้ำแข็งตลอดทั้งปี (และเกือบทั้งมหาสมุทรในฤดูหนาว) อุณหภูมิและความเค็มของมหาสมุทรอาร์กติกแตกต่างกันไปตามฤดูกาล เมื่อน้ำแข็งหลอมเหลวและแข็งตัว<ref>[http://psc.apl.washington.edu/HLD/Lomo/OM2001AagaardWoodgate.pdf Some Thoughts on the Freezing and Melting of Sea Ice and Their Effects on the Ocean] K. Aagaard and R. A. Woodgate, Polar Science Center, Applied Physics Laboratory
University of Washington, January 2001. Retrieved 7 December 2006.</ref> ความเค็มของมหาสมุทรมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดในมหาสมุทรหลักทั้งห้า เนื่องจากการระเหยที่ต่ำ กระแสไหลเข้าอย่างหนักของน้ำจืดจากแม่น้ำและลำธาร และการเชื่อมโยงที่จำกัดและการไหลออกไปยังมหาสมุทรโดยรอบที่มีความเค็มสูงกว่า การหดตัวของน้ำแข็งในฤดูร้อนมีบันทึกว่าลดลงถึง 50%<ref name=Pidwirny/> ศูนย์ข้อมูลหิมะและน้ำแข็งแห่งชาติสหรัฐ (NSIDC) ใช้ข้อมูลดาวเทียมเพื่อหาบันทึกประจำวันของน้ำแข็งปกคลุมมหาสมุทรอาร์กติก และอัตราการหลอมเหลวเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเฉลี่ยและปีที่ผ่านมา
 
สันลอมอนอซอฟ (Lomonosov ridge) ซึ่งเป็น[[สันมหาสมุทร]]ที่อยู่ใต้ทะเล แบ่งมหาสมุทรอาร์กติกออกเป็น 2 ส่วน คือ แอ่งยูเรเชีย (เรียกบริเวณนี้ว่าแนนสัน - Nansen) มีความลึก 4,000-4,500 เมตร และแอ่งอเมริกาเหนือ (เรียกบริเวณนี้ว่าไฮเพอร์โบเรียน - Hyperborean) มีความลึกประมาณ 4,000 เมตร ความลึกเฉลี่ยของมหาสมุทรอาร์กติก คือ 1,038 เมตร (3,407 ฟุต) [http://www.marianatrench.com/mariana_trench-oceanography.htm]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{Commons category-inline|Arctic Ocean}}
 
[[หมวดหมู่:อาร์กติก]]