ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้อขัดแย้งเรื่องการสถาปนาสมณศักดิ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
G(Bot) (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=240px}}
[[ไฟล์:Investiturewoodcut.jpg|thumb|กษัตริย์ในยุคกลางแต่งตั้งสังฆราชบิชอป]]
'''ข้อขัดแย้งในอำนาจเรื่องการแต่งตั้งสงฆ์สถาปนาสมณศักดิ์''' ({{lang-en|Investiture Controversy หรือ Investiture Contest}}) เป็นความขัดแย้งทางอำนาจการแต่งตั้งสงฆ์อันครั้งสำคัญระหว่างสถาบันคริสต์ศาสนาและสถาบันการปกครองของฆราวาส[[คริสตจักร]]กับ[[รัฐ]]ในยุโรป[[ยุคกลาง]]ที่เกิดขึ้นระหว่างช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 และ 12 พระสันตะปาปาหลายพระองค์ก็เริ่มท้าทายอำนาจของพระมหากษัตริยุโรปในควบคุมเรื่องการแต่งตั้งและสถาปนาสมณศักดิ์นักบวช เช่น [[สังฆราช (คริสต์ศาสนา)|พระสังฆราชบิชอป]] หรือ และ[[เจ้าอธิการวัด (คริสต์ศาสนา)|เจ้าอธิการวัด]]ผู้ปกครอง[[สำนักสงฆ์อาราม]] ความขัดแย้งเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1075 ระหว่าง[[สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7]] และ [[สมเด็จพระจักรพรรดิไฮนริคที่ไฮน์ริชที่ 4 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] ความขัดแย้งอื่นก็ได้แก่ความขัดแย้งระหว่าง[[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ]] และ[[สมเด็จพระสันตะปาปาปาสคาลที่ 2]] ระหว่างปี ค.ศ. 1103 ถึงปี ค.ศ. 1107 ปัญหานี้มายุติลงใน[[ข้อตกลงแห่งเวิร์มส]] (Concordat of Worms) ในปี ค.ศ. 1122
 
การตกลงครั้งนี้เป็นการลดอำนาจของจักรพรรดิแห่ง[[จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ที่ก่อตั้งขึ้นโดย[[ราชวงศ์ซาเลียน]]ลง ความขัดแย้งนี้นำไปสู่สงครามกลางเมืองใน[[เยอรมนี]]ที่ยาวนานเกือบห้าสิบปี
 
== ที่มา ==
หลังจาก[[การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน]]แล้วการแต่งตั้งนักบวชสถาปนาสมณศักดิ์แม้ว่าตามทฤษฎีแล้วจะเป็นหน้าที่ของสถาบันศาสนจักร[[โรมันคาทอลิก]]ไป แต่ได้ตกอยู่ภายใต้อำนาจของผู้มีอำนาจที่เป็นฆราวาส<ref name=Blum34>Blumenthal ''Investiture Controversy'' pp. 34-36</ref> ตำแหน่ง[[สังฆราช (คริสต์ศาสนา)|พระสังฆราชบิชอป]] หรือ [[แอบบอต (คริสต์ศาสนา)|แอบบอตอธิการอาราม]]เป็นตำแหน่งที่มากับความมั่งคั่งและที่ดินจำนวนมาก ฉะนั้นการขายตำแหน่ง (simony) จึงกลายมาเป็นรายได้สำคัญของผู้นำฆราวาส{{Fact|date=June 2009}} และเมื่อสังฆราชบิชอปและแอบบอตอธิการเองส่วนใหญ่ก็เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลอยู่แล้วเพราะเป็นกลุ่มชนที่มีการศึกษา ฉะนั้นผู้นำฆราวาสจึงได้ประโยชน์จากการแต่งตั้งคนที่ทราบได้ว่าจะจงรักภักดีต่อตนเองเมื่อได้รับตำแหน่ง<ref name=Blum34/> นอกจากนั้นแล้ว[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ก็ยังมีสิทธิพิเศษในการแต่งตั้งพระสันตะปาปา เมื่อพระสันตะปาปาหันมาแต่งตั้งพระจักรพรรดิ ฉะนั้นระบบการแต่งตั้งนักบวชสถาปนาสมณศักดิ์โดยฆราวาสจึงเป็นที่แพร่หลาย
 
วิกฤติการณ์เริ่มขึ้นเมื่อกลุ่มนักบวช[[กลุ่มนักปฏิรูปเกรกอเรียน]] (Gregorian Reform) ตกลงกันประณามการซื้อขายตำแหน่งและพยายามยึดอำนาจการแต่งตั้งให้กลับมาเป็นอำนาจของสถาบันศาสนาคริสตจักร กลุ่มนักปฏิรูปเกรกอเรียนทราบว่าตราบใดที่พระจักรพรรดิยังมีอำนาจในการแต่งตั้งพระสันตะปาปาการเปลี่ยนแปลงก็ไม่มีทางที่จะเกิดขึ้น โอกาสการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1056 เมื่อ[[สมเด็จพระจักรพรรดิไฮนริคที่ไฮน์ริชที่ 4 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์เยอรมนีเมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 6 พรรษา นักปฏิรูปจึงฉวยโอกาสปลดปล่อยการแต่งตั้งพระสันตะปาปาจากพระองค์เมื่อยังทรงพระเยาว์เกินกว่าที่จะประท้วงได้ ในปี ค.ศ. 1059 สภาสงฆ์ศาสนจักรในกรุงโรมก็ออกประกาศใน[[สารตราพระสันตะปาปา]]ชื่อ “[[พระบัญญัติพระสันตะปาปาอินโนมิเนโดมินิเนโดมีนี]]” (In Nomine Domini) ที่ออกโดย[[สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 2]] ที่ประกาศว่าผู้นำฆราวาสไม่มีสิทธิในการเลือก[[พระสันตะปาปา]] และก่อตั้งตั้ง[[สภาคณะคาร์ดินัล]] (College of Cardinals) ขึ้นเพื่อให้เป็นองค์ของผู้มีสิทธิในการเลือกตั้งพระสันตะปาปาที่ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ของสถาบันศาสนาศาสนจักรทั้งหมด [[สภาคณะคาร์ดินัล]]ก็ยังคงเป็นสถาบันที่มีหน้าที่เลือกตั้งพระสันตะปาปาในปัจจุบัน
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 17:
 
{{ประวัติศาสตร์ยุโรป-ยุคกลาง}}
{{เรียงลำดับ|ข้อขัดแย้งในอำนาจเรื่องการแต่งตั้งสงฆ์สถาปนาสมณศักดิ์}}
 
{{โครงประวัติศาสตร์}}
 
[[หมวดหมู่:สารตราพระสันตะปาปา]]
[[หมวดหมู่:พระสันตะปาปา]]