ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศบาลตำบลไพรบึง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
KB (คุย | ส่วนร่วม)
KB (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 55:
 
== โครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค ==
พื้นที่เขตเทศบาลตำบลไพรบึงเป็นที่ตั้งของหน่วยงานและศูนย์บริการสาธารณูปโภคด้านต่างๆ ดังนี้[[ไฟล์:บัสขุนหาญไพรบึงศรีสะเกษ.jpg|thumb|250px|รถโดยสารประจำทางสายขุนหาญ-ไพรบึง-ศรีสะเกษ]]
 
 
=== การคมนาคมและขนส่ง ===
* เขตเทศบาลตำบลไพรบึงถือเป็นศูนย์กลางการเดินทางและการคมนาคมขนส่งของอำเภอ โดยมีเส้นทางหลักคือ[[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 2111]] (พยุห์-ขุนหาญ) ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญที่เชื่อมโยงการเดินทางไปยังจุดสำคัญในทิศทางต่างๆ ดังนี้ [[ไฟล์:บัสขุนหาญไพรบึงศรีสะเกษ.jpg|thumb|250px|รถโดยสารประจำทางสายขุนหาญ-ไพรบึง-ศรีสะเกษ]]
** ทางทิศเหนือ เชื่อมโยงการเดินทางสู่อำเภอพยุห์ ด้วยระยะทาง 20 กิโลเมตร และจากอำเภอพยุห์เชื่อมต่อไปยังอำเภอเมืองศรีสะเกษ ด้วยทาง[[หลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข]] [[221]] อีก 20 กิโลเมตร รวมเป็นระยะทางจากเขตเทศบาลไพรบึงถึงตัวเมืองจังหวัดศรีสะเกษทั้งสิ้น 42 กิโลเมตร(รถโดยสารประจำทางสายขุนหาญ-ไพรบึง-ศรีสะเกษ)
** ทางทิศใต้ เชื่อมโยงการเดินทางสู่อำเภอขุนหาญ ด้วยระยะทาง 20 กิโลเมตร (รถโดยสารประจำทางสายขุนหาญ-ไพรบึง-ศรีสะเกษ)
นอกจากนั้น บริเวณสี่แยกหัวช้าง ในเขตบ้านหัวช้าง ตำบลสำโรงพลัน ของอำเภอไพรบึง ซึ่งห่างจากเขตเทศบาลไพรบึงไปทางทิศใต้ประมาณ 4 กิโลเมตร ถือเป็นชุมทางการคมนาคมและการขนส่งขนาดใหญ่อีกจุดหนึ่ง เนื่องจากเป็นจุดตัดกับ[[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 24]] (ถนนโชคชัย-เดชอุดม) ชุมทางแห่งนี้มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการพักรถและพักผ่อนสำหรับผู้เดินทาง ซึ่งประกอบด้วยสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงขนาดใหญ่จำนวน 3 แห่ง ร้านอาหารและร้านสะดวกซื้อ ตลอดจนป้อมตำรวจหน่วยบริการประชาชนของสถานีตำรวจภูธรไพรบึง
จากชุมทางดังกล่าวด้านตะวันออกเป็นเส้นทางเชื่อมโยงไปยัง อำเภอกันทรลักษ์ และจังหวัดอุบลราชธานี , ด้านทิศใต้ไปยังอำเภอขุนหาญ, ด้านทิศตะวันตกไปยังอำเภอขุขันธ์ และอำเภอภูสิงห์ ตลอดจนอำเภอต่างๆของ[[จังหวัดสุรินทร์]] ([[อำเภอสังขะ]] [[อำเภอปราสาท]]) [[จังหวัดบุรีรัมย์]] ([[อำเภอเฉลิมพระเกียรติ]] [[อำเภอประโคนชัย]] [[อำเภอนางรอง]] [[อำเภอหนองกี่]]) และ[[จังหวัดนครราชสีมา]] ([[อำเภอหนองบุญมาก]] [[อำเภอโชคชัย]] [[อำเภอปักธงชัย]] [[อำเภอสีคิ้ว]]) แล้วบรรจบกับ[[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 2]]([[ถนนมิตรภาพ]])
 
** ทางทิศตะวันออก เชื่อมโยงการเดินทางสู่อำเภอศรีรัตนะ โดย[[ทางหลวงชนบท]] หมายเลข ศก 4014 และ 3014 ระยะทาง 30 กิโลเมตร
** ทางทิศตะวันตก เชื่อมโยงการเดินทางสู่อำเภอขุขันธ์ โดยทางหลวงชนบท ระยะทาง 36 กิโลเมตร
เส้น 88 ⟶ 85:
* ตู้โทรศัพท์สาธารณะ 22 แห่ง
* เสาส่งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ ความถี่ 800/900/1800 (AIS, CAT, DTAC, TRUE)
* ศูนย์วิทยุสื่อสารเทศบาลตำบลไพรบึง
* สถานที่ให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั้งของรัฐและเอกชน 7 แห่ง
* ระบบเครือข่ายกระจายเสียงเพื่อการประชาสัมพันธ์ในเขตชุมชน ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 100
 
=== พลังงานไฟฟ้า ===