ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศบาลตำบลไพรบึง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
KB (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
KB (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
 
== ประวัติ ==
เทศบาลตำบลไพรบึง มีรากฐานจากการจัดตั้งเป็น [[สุขาภิบาลไพรบึง]] ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อ [[พ.ศ. 2528]] และ[[พระราชบัญญัติ]]สุขาภิบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2528 ต่อมาได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลตำบล เมื่อวันที่ [[25 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2542]] ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 <ref>[http://nsm.go.th/law1/law1_12.pdf พระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542]</ref> [[ไฟล์:สำนักงานเทศบาลตำบลไพรบึง.jpg|thumb|250px|สำนักงานเทศบาลตำบลไพรบึง]]
 
== โครงสร้างการบริหารและการปฏิบัติราชการ ==
* ฝ่ายบริหาร ได้แก่ คณะเทศมนตรี ประกอบด้วยนายกเทศมนตรี(ปัจจุบันคือนายศักดิ์ชาย ปัญญาทรงรุจิ), รองนายกเทศมนตรี 2 คน
* ฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่ สภาเทศบาลซึ่งทำหน้าที่ควบคุมฝ่ายบริหาร ภายในสภาเทศบาลประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาล จำนวน 12 คน ที่มาจากการเลือกตั้งอีกจำนวน 10 คน ดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี ประธานสภาเทศบาลคนปัจจุบันคือนายวันนา อินเตสะ รองประธานสภาเทศบาลคนปัจจุบันคือนางอรสา สุภาพ รวมกับสมาชิกสภาเทศบาลที่[[ไฟล์:สำนักงานเทศบาลตำบลไพรบึง.jpg|thumb|250px|สำนักงานเทศบาลตำบลไพรบึง]]
* โครงสร้างการปฏิบัติราชการ มีปลัดเทศบาล เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานเทศบาลและพนักงานจ้างเทศบาล มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการควบคุมดูแลราชการประจำของเทศบาลให้เป็นไปตานโยบาย ประกอบด้วยส่วนการปฏิบัติราชการคือ สำนักปลัดเทศบาล กองการศึกษา กองคลัง กองช่าง กองสาธารณสุข และหน่วยงานตรวจสอบภายใน
 
บรรทัด 56:
== โครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค ==
พื้นที่เขตเทศบาลตำบลไพรบึงเป็นที่ตั้งของหน่วยงานและศูนย์บริการสาธารณูปโภคด้านต่างๆ ดังนี้
 
{|
|--- valign=top
|| <center> [[ไฟล์:ทต ไพรบึง ถนนสายหลัก (5).JPG|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|| <center> [[ไฟล์:ทต ไพรบึง ถนนสายหลัก (4).jpg|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|| <center> [[ไฟล์:ทต ไพรบึง ถนนสายหลัก.JPG|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|| <center> [[ไฟล์:เขตเทศบาลไพรบึง.JPG|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|}
 
=== การคมนาคมและขนส่ง ===
เส้น 71 ⟶ 65:
จากชุมทางดังกล่าวด้านตะวันออกเป็นเส้นทางเชื่อมโยงไปยัง อำเภอกันทรลักษ์ และจังหวัดอุบลราชธานี , ด้านทิศใต้ไปยังอำเภอขุนหาญ, ด้านทิศตะวันตกไปยังอำเภอขุขันธ์ และอำเภอภูสิงห์ ตลอดจนอำเภอต่างๆของ[[จังหวัดสุรินทร์]] ([[อำเภอสังขะ]] [[อำเภอปราสาท]]) [[จังหวัดบุรีรัมย์]] ([[อำเภอเฉลิมพระเกียรติ]] [[อำเภอประโคนชัย]] [[อำเภอนางรอง]] [[อำเภอหนองกี่]]) และ[[จังหวัดนครราชสีมา]] ([[อำเภอหนองบุญมาก]] [[อำเภอโชคชัย]] [[อำเภอปักธงชัย]] [[อำเภอสีคิ้ว]]) แล้วบรรจบกับ[[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 2]([[ถนนมิตรภาพ]])
** ทางทิศตะวันออก เชื่อมโยงการเดินทางสู่อำเภอศรีรัตนะ โดย[[ทางหลวงชนบท]] หมายเลข ศก 4014 และ 3014 ระยะทาง 30 กิโลเมตร
** ทางทิศตะวันตก เชื่อมโยงการเดินทางสู่อำเภอขุขันธ์ โดยทางหลวงชนบท ระยะทาง 36 กิโลเมตร [[ไฟล์:ตลาดสดไพรบึง.JPG|thumb|250px|ตลาดสดเทศบาลไพรบึง]]
* ถนนในความรับผิดชอบของเทศบาล
{|
|--- valign=top
|| <center> [[ไฟล์:ทต ไพรบึง ถนนสายหลัก (5).JPG|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|| <center> [[ไฟล์:ทต ไพรบึง ถนนสายหลัก (4).jpg|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|| <center> [[ไฟล์:ทต ไพรบึง ถนนสายหลัก.JPG|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|| <center> [[ไฟล์:เขตเทศบาลไพรบึง.JPG|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|}
** ถนนลาดยาง จำนวน 2 สาย ระยะทางรวม 4 กิโลเมตร
** ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก (ค.ส.ล.) จำนวน 24 สาย ระยะทางรวม 15.85 กิโลเมตร
เส้น 119 ⟶ 120:
=== การศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่น ===
* วัดในพุทธศาสนา อันเป็นศาสนสถานและฌาปนสถานสำหรับการประกอบศาสนพิธี 4 แห่ง
** วัดไพรบึง (วัดจำปาสุรภี)[[ไฟล์:พระธาตุวัดไพรบึง.jpg|thumb|220px|พระพุทธเจดีย์ไพรบึง]]
** วัดจังกระดาน
** วัดสำโรงพลัน
เส้น 125 ⟶ 126:
* ศาลเจ้าปู่ตาซึ่งเป็นศาลผีประจำชุมชนตั้งอยู่ตามชุมชนต่างๆ เช่น ศาลผีอารักษ์หนองปิด
* เทศกาลและงานประเพณีท้องถิ่นที่สำคัญ
** ประเพณีสักการะ[[พระพุทธเจดีย์ไพรบึง]]และ[[พระบรมสารีริกธาตุ]] ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี คาบเกี่ยวกับ[[วันมาฆบูชา]] ณ วัดไพรบึง
** ประเพณีสงกรานต์ ช่วงวันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี
** ประเพณีบุญบ้องไฟ ในช่วงเดือน 6 ของทุกปี
เส้น 170 ⟶ 172:
# สวนสาธารณะหนองใหญ่หรือ[[บึงนกเป็ดน้ำไพรบึง]]
* สนามกีฬาและสถานที่ออกกำลังกาย
# สนามกีฬาเทศบาลตำบลไพรบึง (สนามฟุตบอล, สนามวอลเลย์บอล, สนามแบตมินตัน, สนามบาสเก็ตบอล, สนามเซปักตะกร้อ และลู่วิ่ง)[[บึงนกเป็ดน้ำไพรบึง]][[ไฟล์:พระธาตุวัดไพรบึง.jpg|thumb|220px|พระพุทธเจดีย์ไพรบึง]]
# ศูนย์บริการฟิตเนสเทศบาลตำบลไพรบึง
# ลานกีฬาบริการอุปกรณ์บริหารร่างกายเทศบาลตำบลไพรบึง
เส้น 177 ⟶ 179:
# สนามกีฬาโรงเรียนไพรบึงวิทยาคม
# ลานกีฬาที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลไพรบึง (สนามบาสเก็ตบอล, สนามวอลเลย์บอล, สนามเซปักตะกร้อ, สนามเปตอง)
นอกจากนี้ ประชากรในเขตเทศบาลยังนิยมวิ่งออกกำลังกายรอบสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ(หนองปิด)และสวนสาธารณะหนองใหญ่หรือ[[บึงนกเป็ดน้ำไพรบึง]]
 
 
เส้น 183 ⟶ 185:
=== สภาพพื้นฐานหลักทางเศรษฐกิจ ===
สภาพทั่วไปทางเศรษฐกิจของอำเภอไพรบึง มีพื้นฐานหลักจากการเกษตรกรรม การพาณิชยกรรมด้านการค้าปลีก และการบริการประเภทต่างๆ โดยด้านการเกษตรกรรมนั้นเป็นผลมาจากสภาพภูมิประเทศมีความอุดมสมบูรณ์ จึงมีผลผลิตทางการเกษตรออกสู่ตลาดทั้งพืชและสัตว์ในรูปแบบต่างๆไม่ว่าจะเป็นผลิตผลที่ยังไม่ผ่านการแปรรูปและที่ผ่านการแปรรูปแล้ว ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่สำคัญได้แก่ ข้าว พืชสวนและพืชไร่ สัตว์เลี้ยง ขณะที่ธุรกิจค้าปลีกและบริการประเภทต่างๆ ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร สินค้าอุปโภค บริโภค อุปกรณ์ก่อสร้าง และอุตสาหกรรม บริการต่างๆ ด้วยเหตุที่เขตเทศบาลตำบลไพรบึงเป็นที่ตั้งของศูนย์ราชการและธุรกิจดังกล่าวของอำเภอ จึงส่งผลให้เขตเทศบาลเป็นศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจของอำเภอด้วยเช่นกัน
นอกเหนือจากตลาดสดเทศบาลตำบลไพรบึงและย่านศูนย์รวมกิจการค้าปลีกและการบริการแล้ว ในเขตเทศบาลยังเป็นที่ตั้งของสหกรณ์การเกษตรและตลาดกลางรับซื้อข้าวเปลือก ตลอดจนผลิตผลทางการเกษตรของอำเภอไพรบึงด้วย [[ไฟล์:ตลาดสดไพรบึง.JPG|thumb|250px|ตลาดสดเทศบาลไพรบึง]]
 
=== หน่วยธุรกิจในเขตเทศบาล ===