ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บินหลา สันกาลาคีรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
โรตี (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
วุฒิชาติเกิดที่[[จังหวัดชุมพร]] จบชั้นมัธยมจาก[[โรงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา]] เข้าเรียนที่ คณะวิทยาการจัดการ [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] และ[[คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] แต่ไม่จบการศึกษา แต่ทำงานหนังสือมาตลอด เป็นนักข่าวหนังสือพิมพ์ หัวหน้ากองบรรณาธิการ และเป็นนักเขียนเต็มเวลา เขียนเรื่องสั้น นิยาย วรรณกรรมเยาวชน และสารคดีท่องเที่ยว เรื่องราวส่วนใหญ่ของเขาเป็นเรื่องที่เก็บเกี่ยวจากการเดินทาง (หลายครั้งมีจักรยานเป็นพาหนะ) ด้วยความที่อยู่ไม่เป็นที่เขาจึงนิยามตนเองว่าเป็นเกสต์ไรเตอร์ (guest writer - นักเขียนรับเชิญ) ซึ่งพักอาศัยอยู่ตาม[[เกสต์เฮาส์]] (guest house) ซึ่งเขาบอกว่า “ทุกวันนี้ผมก็ยังไม่ปลูกบ้าน เพราะกลัวว่าจะต้องอยู่กับตรงนั้นนานเกินไป มีภาระต้องผ่อน ต้องอดทนกับสิ่งที่แวดล้อมนานเกินไป การที่ผมเช่าบ้านอยู่ผมเปลี่ยนแปลงตนเองง่ายกว่า”
 
ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่[[จังหวัดเชียงใหม่]]
 
จดหมายเปิดผนึกถึงเพื่อนนักเขียนไทยทั่วประเทศ
เรื่อง: ขอ เชิญร่วมลงชื่อในการเรียกร้องให้มีการแก้ไขมาตรา 112 และยุติการใช้ข้อกล่าวหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพปิดกั้นการแสดงออกและแสดงความ คิดเห็นทางการเมือง
 
เพื่อนนักเขียนทุกท่าน เรา - นักเขียนผู้มีรายชื่อในท้ายจดหมายฉบับนี้ เชื่อว่าท่านคงเห็นด้วยว่า เสรีภาพในการแสดงออกและแสดงความคิดเห็น คือหัวใจสำคัญของการเป็นนักเขียนในสังคมประชาธิปไตย ไม่ว่าจะเป็นงานเขียนประเภทใด ไม่ว่าจะเป็นนักเขียนผู้ทำงานเขียนเพื่อเลี้ยงชีพ หรือเป็นนักเขียนผู้ผลิต “งานสร้างสรรค์” ไม่ว่าจะเป็นนักเขียนผู้มีอุดมการณ์ ศรัทธา และความเชื่อส่วนตัวเช่นไร เสรีภาพในการแสดงออกและแสดงความคิดเห็น ถือเป็นพื้นฐานสำคัญเบื้องต้นที่เอื้อให้นักเขียนทุกคนทุกแขนงในสังคม ได้มีพื้นที่ มีอิสรภาพ และมีโอกาสในการพัฒนาทั้งคุณภาพผลงานและทั้งคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่โดยเท่า เทียมกัน
 
เมื่อใดก็ตามที่เสรีภาพในการแสดงออกและแสดงความคิดเห็นตก อยู่ในสภาวะบอบบาง อ่อนแอ และสั่นคลอน สถานภาพของการเป็นนักเขียนในสังคมประชาธิปไตยย่อมตกอยู่ในสภาวะบอบบาง อ่อนแอ และสั่นคลอนไปด้วย ผลกระทบเบื้องต้น คือการหยุดชะงักของโอกาสในการพัฒนาความรู้ ความคิด และการสร้างสรรค์งานเขียน เนื่องเพราะถูกจำกัดขอบเขตการแสดงออกและการสานต่อทางปัญญา ผลกระทบขั้นรุนแรงกว่าคือการต้องใช้ชีวิตและทำงานภายใต้บรรยากาศอันมืดมิด ภายใต้ความหวั่นวิตกถึงการสูญเสียสิทธิ สูญเสียอิสรภาพอย่างไม่เป็นธรรม และหวาดกลัวต่ออันตรายที่อาจเกิดกับตนเองและครอบครัว
 
สังคมไทยขณะนี้ มีการนำกฎหมายอาญามาตรา 112 มาใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง โดยคนหลายกลุ่มหลายฝ่าย มีการใช้มาตราดังกล่าวในการข่มขู่คุกคาม กระทั่งฟ้องร้องดำเนินคดี คุมขังและริดรอนอิสรภาพของประชาชนผู้ถูกกล่าวหาจำนวนมาก ทำให้เห็นว่าสังคมไทยกำลังก้าวล่วงสู่สภาวการณ์ที่เสรีภาพในการแสดงออกและ แสดงความคิดเห็นถูกคุกคามอย่างอยุติธรรมมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ นอกเหนือไปจากความกังวลในฐานะประชาชนที่อาจต้องเผชิญกับการคุกคาม เราในฐานะนักเขียน ย่อมมิอาจนิ่งดูดายและปล่อยให้หัวใจสำคัญของการเป็นนักเขียนและการทำงาน เขียนภายใต้สังคมประชาธิปไตย ต้องตกอยู่ในวิกฤตเช่นนี้
 
ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่[[จังหวัดเชียงใหม่]]
 
ไอ้พวกที่คิดว่าตัวเองเป็นศิลปิน แล้วคิดจะทำอะไรตามอำเภอใจ ต่อต้าน คิดนอกกรอบสังคม ก่อกวนให้เกิดความวุ่นวาย โดยสร้างเงื่อนไขความแตกต่างเอาความอิสระเสรีมาเป็นตัวอ้างอิง มึงก็กำลังลุ่มหลงยึดติดเปลือกของมึงอยู่นั่นแหละ ลุ่มหลงให้ผู้คนยกย่อง ชมชอบ ถ้าพวกมึงอยู่เฉยไม่มีคนสรรเสริญมึงคงจะลงแดงตายสินะ ยังมีศิลปินอีกหลายล้านคน ที่ทำงานศิลปะดีๆออกมา มีคนนิยมนับถือด้วยเนื้องานและคุณภาพงาน ไม่จำเป็นต้องให้ใครมาเยินยอ ป้อปด... เพราะพวกมึงกลวงไม่มีเหี้ยอะไรเลย เป็นศิลปินดีๆยังไม่ได้ ถึงต้องบ่อนทำลายบ้านเมืองแบบนี
== ผลงาน ==