ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สรีดภงส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
สรีดภงค์ → สรีดภงส์
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Saridapong Dam.JPG|thumb|300px|สรีดภงค์สรีดภงส์ ทางทิศตะวันตกของอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย]]
 
'''สรีดภงค์สรีดภงส์'''<ref>ฌ็อฌ เซเด. (2477). ''จารึกพ่อขุนรามคำแหงกับคำอธิบายของหลวงวิจิตรวาทการ.'' พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์. หน้า 22-23.</ref> หรือ '''ทำนบพระร่วง''' คือ ทำนบกั้นน้ำหรือเขื่อน เดิมคนท้องถิ่นตำบลเมืองเก่า [[อำเภอเมืองสุโขทัย]] [[จังหวัดสุโขทัย]] เรียกร่องรอยของคันดินโบราณเพื่อการชลประทานว่า '''ทำนบพระร่วง''' เนื่องจากกษัตริย์[[สุโขทัย]]พระองค์ใดพระองค์หนึ่งเป็นผู้สร้างขึ้น จึงถือว่าเป็นของที่พระร่วงทำขึ้นหรือเกิดขึ้นด้วยอิทธิฤทธิ์ของพระร่วงทั้งสิ้น
== สถานที่ตั้ง ==
สรีดภงค์สรีดภงส์หรือทำนบพระร่วงอยู่ใน[[อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย]] โดยตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองเก่าทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตรงบริเวณที่ถูกขนาบด้วยภูเขาสองลูกเป็นรูปก้ามปู คือ เขาพระบาทใหญ่และเขากิ่วอ้ายมา ภูเขาทั้งสองลูกนี้อยู่ในทิวเขาหลวงด้านหลังตัวเมือง[[สุโขทัย]]โบราณ ลึกเข้าไปในทิวเขานี้เป็นซอกเขาอันเป็นต้นกำเนิดของทางน้ำเรียกว่า "โซกพระร่วงลองขรรค์"
 
== สถาปัตยกรรม ==
สรีดภงค์สรีดภงส์เป็นคันดินกั้นน้ำระหว่างเขาพระบาทใหญ่และเขากิ่วอ้ายมา โดยเขื่อนจะกักน้ำและมีระบบชักน้ำไปตามคลองส่งน้ำลำเลียงไปตามคลองสู่กำแพงเมืองเก่า แล้วน้ำจะไหลเข้าสู่สระ[[ตระพังเงิน]]สระ[[ตระพังทอง]]เพื่อใช้สอยในเมืองและพระราชวังในสมัย[[สุโขทัย]]
 
== แหล่งต้นน้ำ ==
บรรทัด 13:
 
== การเดินทาง ==
เขื่อนสรีดภงค์สรีดภงส์อยู่ภายนอกกำแพงเมืองเก่าทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ นักท่องเที่ยวสามารถขี่จักรยานแล้วแวะขึ้นไปชมหรือขับรถขึ้นไปยังสันเขื่อนที่ไม่สูงนักได้
 
== สภาพปัจจุบัน ==
บรรทัด 19:
 
== งานค้นคว้า ==
จากการศึกษา<ref>[http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%A0%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C สรีดภงค์สรีดภงส์]</ref> พบว่าแต่เดิมก่อนที่กรมชลประทานจะก่อสร้างเขื่อนกักเก็บน้ำนั้น บริเวณนี้จะมีคันดินเตี้ย ๆ สูงประมาณ 1-2 เมตร ทอดยาวเป็นแนวขนานกันกับเขื่อนดินสร้างใหม่ของ[[กรมชลประทาน]]มีคำเรียกคันดินโบราณนี้ว่า [[ทำนบพระร่วง]] แต่ลักษณะคันดินไม่สูงนักรวมทั้งมิได้มีสภาพการก่อสร้างที่แข็งแรงพอ จึงอาจที่จะวิเคราะห์ได้ว่า คันดินโบราณที่เรียกว่าทำนบพระร่วงนี้ มิได้ทำหน้าที่เป็นเขื่อนกักเก็บน้ำเหมือนกับเขื่อนดินที่[[กรมชลประทาน]]มาสร้างไว้ อาจจะทำหน้าที่เพียงเพื่อบังคับทิศทางของน้ำที่มีมากในฤดูฝน มิให้ไหลล้นไปในทิศทางอื่นที่มิใช่ทิศทางไปสู่เมือง[[สุโขทัย]]แต่จะทำหน้าที่เบนน้ำทั้งหมดที่ไหลมาจากเขาทั้งสองลูกนี้ให้ไหลลงไปในคลองเสาหอทั้งหมด เพื่อนำไปสู่คูเมือง[[สุโขทัย]]
 
ทั้งนี้ แนวคันดินที่ทำหน้าที่เบี่ยงเบนทิศทางของน้ำให้ไหลไปตามทิศที่ต้องการซึ่งทำหน้าที่เหมือนกับทำนบพระร่วงนั้น ถูกพบได้โดยทั่วไปบนพื้นที่ลาดเอียงรอบ ๆ เมืองเก่าสุโขทัย โดยพบมากที่สุดที่บริเวณเชิงเขาด้านทิศตะวันตกจรดทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตัวเมือง โดยที่ไม่ได้เรียกว่า[[ทำนบพระร่วง]]แต่อย่างใด เฉพาะคันดินเป็นแนวเชื่อมระหว่างเขาพระบาทใหญ่กับเขากิ่วอ้ายนี้ที่มีชื่อเรียกกันมาว่า "ทำนบพระร่วง" เพราะอาจเป็นคันดินแนวที่ชัดเจนที่สุดและถูกรู้จักมาช้านานก็เป็นได้ ทั้งนี้ ทำนบพระร่วงแห่งนี้ นักวิชาการหลายท่านได้เรียกชื่อเป็น [[สรีดภงค์สรีดภงส์]] ตามชื่อที่ปรากฏใน[[ศิลาจารึกหลักที่ 1]] (ศิลาจารึก[[พ่อขุนรามคำแหงมหาราช]])
 
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 30:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*[http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%A0%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C สรีดภงค์สรีดภงส์]
*[http://www.sukhothai.go.th/tour/tour_03.htm อุทยานแห่งชาติรามคำแหง]