ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอไพรบึง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับอำเภอขุขันธ์
 
== ประวัติศาสตร์และพัฒนาการ ==
== ประวัติ ==
หลักฐานทาง[[โบราณคดี]]และ[[ประวัติศาสตร์]]ในเขตอำเภอไพรบึง แสดงให้เห็นพัฒนาการการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในอำเภอแห่งนี้ตั้งแต่ประมาณ 1,000 ปีเป็นต้นมา โดยเฉพาะในวัฒนธรรมสมัย[[อาณาจักขอม]][[โบราณ]] ดังปรากฏพบชุมชนโบราณและโบราณสถาน-โบราณวัตถุในยุคสมัยและรูปแบบ[[ศิลปะ]][[ขอม]]หลายแห่ง เช่น ปราสาทเยอ และแหล่งโบราณคดีบ้านปราสาทเยอ ตำบลปราสาทเยอ, แหล่งโบราณคดีบ้านหัวช้าง ตำบลสำโรงพลัน <ref> กรมศิลปากร. '''วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดศรีสะเกษ'''.คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว; [บรรณาธิการ : ปรุงศรี วัลลิโภดม],กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2544.</ref>
เดิมเป็นท้องที่อยู่ในปกครองของ[[อำเภอขุขันธ์]] จังหวัดศรีสะเกษ ในปี พ.ศ. 2506 ประชากรในตำบลไพรบึง สำโรงพลัน ดินแดง และ ตำบลปราสาทเยอ ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกได้เรียกร้องขอให้แยกและยกฐานะขึ้นเป็นกิ่งอำเภอ นายยอด อ่อนโอภาส นายอำเภอขุขันธ์ในขณะนั้น จึงได้จัดประชุมประชาชนใน 4 ตำบล ดังกล่าว ที่ประชุมมีมติให้จัดตั้งกิ่งอำเภอที่ บ้านไพรบึง ตำบลไพรบึง และให้เรียกชื่อว่า'''กิ่งอำเภอไพรบึง''' และได้ขออนุมัติจากกระทรวงมหาดไทย ให้จัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอและได้รับงบประมาณ ในปี [[พ.ศ. 2511]] และเปิดที่ว่าการกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2512 โดยมีนายยศ ทองสุทธิ์ ดำรงตำแหน่งปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ เป็นคนแรก และได้ยกฐานะเป็นอำเภอเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2518 โดยมีนายมั่น พรหมบุตร ดำรงตำแหน่ง นายอำเภอเป็นคนแรก
ส่วนในยุคปัจจุบันหรือช่วงเวลาระยะเวลาร่วมสมัยนั้น เดิมอำเภอไพรบึงเป็นท้องที่อยู่ในปกครองของ[[อำเภอขุขันธ์]] จังหวัดศรีสะเกษ ครั้นในปี พ.ศ. 2506 ประชากรในตำบลไพรบึง สำโรงพลัน ดินแดง และ ตำบลปราสาทเยอ ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกได้เรียกร้องขอให้แยกและยกฐานะขึ้นเป็นกิ่งอำเภอ นายยอด อ่อนโอภาส นายอำเภอขุขันธ์ในขณะนั้น จึงได้จัดประชุมประชาชนใน 4 ตำบล ดังกล่าว ที่ประชุมมีมติให้จัดตั้งกิ่งอำเภอที่ บ้านไพรบึง ตำบลไพรบึง และให้เรียกชื่อว่า'''กิ่งอำเภอไพรบึง''' และได้ขออนุมัติจากกระทรวงมหาดไทย ให้จัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอและได้รับงบประมาณ ในปี [[พ.ศ. 2511]] และเปิดที่ว่าการกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2512 โดยมีนายยศ ทองสุทธิ์ ดำรงตำแหน่งปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ เป็นคนแรก และได้ยกฐานะเป็นอำเภอเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2518 โดยมีนายมั่น พรหมบุตร ดำรงตำแหน่ง นายอำเภอเป็นคนแรก
 
== ชาติพันธุ์ ==
อำเภอไพรบึง เป็นอำเภอที่มีชาติพันธุ์ ภาษาพูดที่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบไปด้วย 4 ชาติพันธุ์ คือ [[เขมร]] [[กูย]] [[เยอ]] [[ลาว]] ดังปรากฏตามคำขวัญของอำเภอว่า '''"ไทยสี่เผ่า"'''
 
ชาวเขมรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ที่ตำบลไพรบึง ตำบลสำโรงพลัน ตำบลดินแดง ชาวกูยและชาวเยอ อาศัยอยู่ที่ตำบลปราสาทเยอ ตำบลโนนปูน และชาวลาวอาศัยอยู่ที่ตำบลสุขสวัสดิ์
 
== การปกครองส่วนภูมิภาค ==
เส้น 59 ⟶ 55:
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลโนนปูน ''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโนนปูนทั้งตำบล
 
== สภาพทางสังคมและวัฒนธรรม ==
== การศึกษา ==
=== ประชากรและกลุ่มชาติพันธุ์ ===
=== โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ===
ประชากรในอำเภอไพรบึง เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลาย มีความคล้ายคลึงและใกล้เคียงกันทั้งลักษณะทางกายภาพและวัฒนธรรม แต่มีภาษาพูดที่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบไปด้วย 4 กลุ่มชาติพันธุ์ คือ [[เขมร]] [[กูย]](หรือ[[กวย]]หรือ[[ส่วย]]) [[เยอ]] [[ลาว]] ดังปรากฏตามคำขวัญของอำเภอว่า '''"ไทยสี่เผ่า"''' ชาวเขมรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ที่ตำบลไพรบึง ตำบลสำโรงพลัน ตำบลดินแดง ชาวกูยและชาวเยอ อาศัยอยู่ที่ตำบลปราสาทเยอ ตำบลโนนปูน และชาวลาวอาศัยอยู่ที่ตำบลสุขสวัสดิ์ กลุ่มชาติพันธุ์เหล่านี้ประกอบอาชีพหลักทางการเกษตรและส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนา มีประเพณีพิธีกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาและวงจรชีวิตความเป็นอยู่ตั้งแต่เกิดจนตายในแต่ละเดือนของแต่ละรอบปี ในลักษณะฮีต 12 คอง 14 <ref>กรมศิลปากร. '''วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดศรีสะเกษ'''.คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว; [บรรณาธิการ : ปรุงศรี วัลลิโภดม],กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2544.</ref>
# โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม
# โรงเรียนกุญชรศิรวิทย์
# โรงเรียนโนนปูนวิทยาคม
 
=== วัดในพุทธศาสนาที่สำคัญ ===
== การเดินทาง ==
* [[วัดไพรบึง]] (วัดจำปาสุรภี) ในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง เป็นวัดประจำอำเภอไพรบึงและเป็นที่ทำการเจ้าคณะอำเภอไพรบึง ภายในวัดมี[[พระธาตุวัดไพรบึง]]ซึ่งเป็นพระธาตุเจดีย์ขนาดใหญ่ สร้างตามแบบศิลปะอินเดียแบบเจดีย์[[พุทธคยา]] สูงประมาณ 30 เมตร ยอดฉัตรด้านบนสุดเป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ถือเป็นปูชนียสถานที่สำคัญและได้รับการเคารพสักการะของพุทธศาสนิกชนชาวจังหวัดศรีสะเกษและชาวไทยอีกแห่งหนึ่ง ในเดือนกุมภาพันธ์ของแต่ละปีในช่วงคาบเกี่ยวกับ[[วันมาฆบูชา]] ทางวัดกำหนดให้มีงานประเพณีสักการะพระธาตุและพระบรมสารีริกธาตุ
* [[วัดสำโรงพลัน]] ชุมชนบ้านสำโรงพลัน ในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง
* [[วัดสิเรียมพุทธาราม]] บ้านสังกัน ตำบลสำโรงพลัน
* [[วัดโพนปลัด]] บ้านโพนปลัด ตำบลสุขสวัสดิ์
* [[วัดปราสาทเยอเหนือ]] บ้านปราสาทเยอ ตำบลปราสาทเยอ ภายในวัดมีปราสาทโบราณ [[ศิลปะ]][[ขอม]] สร้างราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 ปัจจุบันชำรุดหักพัง และวัดแห่งนี้ยังเป็นวัดแห่งแรกที่[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ทรงเสด็จพระราชดำเนินทอดพระกฐินเป็นการส่วนพระองค์ เมื่อวันที่ [[25 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2514]]<ref>[http://prasatyoe.go.th/default.php?modules=news&data=detail&Id=14 ข่าวประชาสัมพันธ์]อบต.ปราสาทเยอ สืบค้นวันที่ 28 กันยายน 2554</ref>
 
=== งานประเพณีและเทศกาลสำคัญ ===
ประชาชนทุกภาคส่วน ส่วนราชการ ตลอดจนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอไพรบึง ร่วมกันจัดงานประเพณีและเทศกาลตามแบบแผนทางวัฒนธรรมและประเพณีดั้งเดิมหลายวาระในแต่ละรอบปี โดยมีงานประเพณีและเทศกาลสำคัญคือ
* งานประเพณีสักการะพระบรมสารีริกธาตุและพระธาตุวัดไพรบึง ซึ่งจัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปีในช่วงคาบเกี่ยวกับ[[วันมาฆบูชา]] [[ไฟล์:พระธาตุวัดไพรบึง.jpg|thumb|250px|พระธาตุวัดไพรบึง]]
* ประเพณีและเทศกาลสงกรานต์
* ประเพณีและเทศกาลเข้าพรรษา
* ประเพณีและเทศกาลออกพรรษา
* ประเพณีและเทศกาลลอยกระทง
 
=== การศึกษา ===
==== โรงเรียนระดับประถมศึกษาที่สำคัญ ====
# [http://www.apb.ac.th/ โรงเรียนอนุบาลไพรบึง]โรงเรียนประถมศึกษาประจำอำเภอไพรบึง
# โรงเรียนบ้านสวาย-สนวน
# โรงเรียนบ้านสำโรงพลัน ตำบลสำโรงพลัน
# โรงเรียนบ้านปราสาทเยอ ตำบลปราสาทเยอ
# โรงเรียนบ้านโพนปลัด ตำบลสุขสวัสดิ์
# โรงเรียนบ้าน
==== โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ====
# [http://www.pbk-school.com/ โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม] โรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอไพรบึง
# [[โรงเรียนกุญชรศิรวิทย์]] ตั้งอยู่ที่บ้านหัวช้าง ตำบลสำโรงพลัน
# [[โรงเรียนโนนปูนวิทยาคม ตั้งอยู่ที่ตำบลโนนปูน
# [[โรงเรียนวัดไพรบึงวิทยา]] ตั้งอยู่ภายในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง
# [[โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดไพรบึง]] ตั้งอยู่ภายในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง
==== ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอไพรบึง ====
* ห้องสมุดประชาชนอำเภอไพรบึง
* ศูนย์บริการคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
=== การแพทย์และสาธารณสุข ===
* [[โรงพยาบาล]][[ชุมชน]](รพช.) 1 แห่ง คือ[http://www.praibuenghospital.com/online/ โรงพยาบาลไพรบึง] (ขนาด 30 เตียง)
* โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล (รพ.สต)6 แห่ง(กันตรวจ, ตาโมกข์, ทุ่ม, ปราสาทเยอ, หนองอารี, ไม้แก่น)
* [http://www.pribungsso.org/ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอไพรบึง]
* คลินิกทางการแพทย์ พยาบาลและการผดุงครรภ์
* ร้านจำหน่ายยาแผนปัจจุบัน
 
=== การกีฬาและสันทนาการ ===
# สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติหนองปิด
# สวนสาธารณะหนองใหญ่หรือ[[บึงนกเป็ดน้ำไพรบึง]]
# สนามกีฬาเทศบาลตำบลไพรบึง (สนามฟุตบอล, สนามวอลเลย์บอล, สนามแบตมินตัน, สนามบาสเก็ตบอล, สนามเซปักตะกร้อ และลู่วิ่ง)
# ศูนย์บริการฟิตเนสเทศบาลตำบลไพรบึง
# ลานกีฬาบริการอุปกรณ์บริหารร่างกายเทศบาลตำบลไพรบึง
# สนามฟุตบอลหน้าที่ว่าการอำเภอไพรบึง
# สนามกีฬาโรงเรียนอนุบาลไพรบึง
# สนามกีฬาโรงเรียนไพรบึงวิทยาคม
# ลานกีฬาที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลไพรบึง (สนามบาสเก็ตบอล, สนามวอลเลย์บอล, สนามเซปักตะกร้อ, สนามเปตอง)
# สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนตำบลปราสาทเยอ
* การแข่งขันกีฬา "ไพรบึงคัพ" หรือ "เป็ดน้ำเกมส์" ในแต่ละปี เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างส่วนราชการต่างๆ ท้องถิ่นและประชาชนในอำเภอ
 
=== ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ===
* สถานีตำรวจภูธรไพรบึง (สภ.ไพรบึง)
* หน่วยบริการประชาชน สภ.ไพรบึง บริเวณสี่แยกหัวช้าง บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24
* หน่วยบริการประชาชน สภ.ไพรบึง บริเวณตำบลปราสาทเยอ บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2111
* หน่วยเฉพาะกิจ กรมทหารราบที่ 16 ค่ายบดินทร์เดชา
* กองร้อย อาสาสมัครรักษาดินแดนจังหวัดศรีสะเกษ ที่ 10(อำเภอไพรบึง)
* ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน อำเภอไพรบึง
* สถานีดับเพลิงและบรรเทาสาธารณภัย เทศบาลตำบลไพรบึง
 
== สภาพเศรษฐกิจ ==
โครงสร้างหลักทางเศรษฐกิจของอำเภอไพรบึงมาจากการเกษตรกรรม ธุรกิจค้าปลีก-ค้าส่ง การบริการและอุตสหกรรมขนาดเล็ก พืชเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ข้าวหอมมะลิ และพืชสวน ตลอดจนผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตรหลายชนิด เช่น [[ไข่เค็มพอกดินจอมปลวก]] ซึ่งเป็นสินค้า[[หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์]](OTOP) ที่่ได้รับการส่งเสริมของอำเภอ พื้นที่ทางเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่เขตเทศบาลตำบลไพรบึงและสี่แยกหัวช้าง ซึ่งเป็นชุมทางการเดินทางและการคมนาคมขนส่งที่คึกคัก ชุมทางแห่งนี้มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการพักรถและพักผ่อนสำหรับผู้เดินทาง ซึ่งประกอบด้วยสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงขนาดใหญ่จำนวน 3 แห่งและขนาดเล็ก 1 แห่ง, ร้านอาหารและร้านสะดวกซื้อ, รีสอร์ทสำหรับพักค้างคืน 2 แห่ง ตลอดจนป้อมตำรวจหน่วยบริการประชาชนของสถานีตำรวจภูธรไพรบึง สี่แยกหัวช้างจึงเป็นพื้นที่สำคัญทางเศรษฐกิจที่คึกคักที่สุดแห่งหนึ่งของอำเภอ
* ธนาคาร
** [[ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร]] สาขาไพรบึง พร้อมตู้บริการทางการเงินอัตโนมัติ (ตู้ ATM)
** [[ธนาคารกสิกรไทย]] สาขาไพรบึง (กำลังอยู่ระหว่างการก่อสร้างเพื่อเปิดบริการ) พร้อมตู้บริการทางการเงินอัตโนมัติ (ตู้ ATM)
** ตู้บริการทางการเงินอัตโนมัติ (ตู้ ATM) [[ธนาคารกรุงไทย]]
** ตู้บริการทางการเงินอัตโนมัติ (ตู้ ATM) [[ธนาคารกรุงเทพ]]
** ตู้บริการทางการเงินอัตโนมัติ (ตู้ ATM) [[ธนาคารกรุงศรีอยุธยา]]
* สหกรณ์การเกษตรไพรบึง จำกัด
* สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงขนาดใหญ่จำนวน 3 แห่ง บริเวณสี่แยกหัวช้าง บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 และสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงขนาดกลางและขนาดเล็กหลายแห่งในเขตเทศบาลตำบลไพรบึงและตำบลอื่นๆ
* ห้างทวีกิจ สาขา ไพรบึง (ในเครือห้างสรรพสินค้า ทวีกิจ ดีพาร์ทเม้นท์ สโตร์)
* ร้านสะดวกซื้อ เซเว่น อีเลฟเว่น (7-11) ในเครือ ซีพีออลล์ สาขาไพรบึง (ภายในสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงและก๊าซ ปตท.)
* ร้านเสื้อผ้า ยี่ห้อแตงโม สาขา ไพรบึง (ภายในสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงและก๊าซ ปตท.)
* ร้านของฝากและของที่ระลึก ปึงหงี่เซียง สาขา ไพรบึง (ภายในสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงและก๊าซ ปตท.)
* ร้านกาแฟอะเมซอน (Amazon) สาขา ไพรบึง (ภายในสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงและก๊าซ ปตท.)
 
== การพลังงาน การประปาและการชลประทาน ==
* สำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อำเภอไพรบึง
* สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงขนาดใหญ่และก๊าซธรรมชาติ จำนวน 3 แห่ง บริเวณสี่แยกหัวช้าง บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 และสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงขนาดกลางและขนาดเล็กหลายแห่งในเขตเทศบาลตำบลไพรบึงและตำบลอื่นๆ
* สำนักงานการประปาเทศบาลตำบลไพรบึง (สถานีสูบน้ำ,โรงกรองน้ำ,ระบบจ่ายน้ำ)
* อ่างเก็บน้ำและฝายทดน้ำในระบบชลประทานเพื่อการเกษตรหลายแห่ง เช่น อ่างเก็บน้ำห้วยชลัง อ่างเก็บน้ำบ้านคอก
 
== การสื่อสารและโทรคมนาคม ==
* ที่ทำการไปรษณีย์ไพรบึง (33180)(บริษัท [[ไปรษณีย์ไทย]] จำกัด)
* ชุมสายโทรศัพท์และโทรคมนาคมไพรบึง (บริษัท [[ทีโอที]] จำกัด และ การสื่อสารแห่งประเทศไทย)
* เสาส่งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ (AIS, DTAC, CAT, True)
 
== การเดินทางและการคมนาคมขนส่ง ==
===จากตัวจังหวัดศรีสะเกษ มายังอำเภอไพรบึง===
* โดยรถยนต์ส่วนตัว ใช้[[ทางหลวงแผ่น]][[ดินหมายเลข 221]] (ศรีสะเกษ-กันทรลักษ์) ผ่านอำเภอพยุห์ จนถึงสี่แยกพยุห์ จากนั้นเลี้ยวขวาเข้าสู่[[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 2111]] (พยุห์-ไพรบึง-ขุนหาญ) ไปจนถึงตัวอำเภอไพรบึง ระยะทางจากตัวจังหวัดศรีสะเกษถึงตัวอำเภอไพรบึง
* โดยรถประจำทาง ใช้สายศรีสะเกษ-พยุห์-ไพรบึง-ขุนหาญ ซึ่งเป็นบริการเดินรถของบริษัท ขุนหาญพัฒนา จำกัด ซึ่งให้บริการเดินรถในเส้นทาง จังหวัดศรีสะเกษ - อำเภอพยุห์ - อำเภอไพรบึง - อำเภอขุนหาญ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 221 และ 2111
* โดยรถประจำทางสาย 4313 เส้นทางศรีสะเกษ-ไพรบึง (สิ้นสุดที่ตำบลดินแดง)
ระยะทางจากตัวจังหวัดศรีสะเกษถึงอำเภอไพรบึง ประมาณ 42 กิโลเมตร
 
===จากกรุงเทพมหานคร มายังอำเภอไพรบึง===
* โดยรถยนต์ส่วนตัว ใช้[[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 1]] ([[ถนนพหลโยธิน]]) จากกรุงเทพมหานคร มาจนถึงสามแยกจังหวัดสระบุรี เลี้ยวขวาที่บริเวณสามแยกดังกล่าวเพื่อเข้าสู่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ผ่าน[[จังหวัดสระบุรี]] จนเข้าสู่เขต[[จังหวัดนครราชสีมา]] ผ่าน[[อำเภอปากช่อง]] มาจนถึงทางต่างระดับสีคิ้ว จากนั้นใช้ทางต่างระดับสีคิ้วเพื่อเข้าสู่ [[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 24]] (สายโชคชัย-เดชอุดม) แล้วใช้เส้นทางดังกล่าวผ่านแยกปักธงชัย - แยกโชคชัย - อำเภอหนองบุญมาก - อำเภอหนองกี่ - อำเภอนางรอง - อำเภอประโคนชัย - อำเภอปราสาท - แยกอำเภอสังขะ - แยกอำเภอภูสิงห์ - แยกอำเภอขุขันธ์ แล้วตรงไปจนถึงแยกหัวช้าง จากแยกนี้เลี้ยวซ้าย ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2111 เพื่อเข้าสู่ตัวอำเภอไพรบึงในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากแยกดังกล่าวเป็นระยะทางประมาณ 64 กิโลเมตร
 
* โดยรถโดยสาร
# เส้นทางกรุงเทพฯ - ไพรบึง ซึ่งเป็นบริการรถปรับอากาศชั้น 1 ของ บริษัท เชิดชัย จำกัด ไป-กลับ วันละ 1 เที่ยว โดยออกจากไพรบึง ในเวลา 20.45 น. และ ออกจากกรุงเทพฯ ในเวลา 20.45 น.
# เส้นทางกรุงเทพฯ - กันทรลักษ์(อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร) บริการเดินรถโดยบริษัท ขนส่ง จำกัด และบริษัทเดินรถเอกชน (ปรับอากาศชั้น 1 และ 2)
# เส้นทางกรุงเทพฯ - อุบลราชธานี ซึ่งมีบริการของผู้ประกอบการเดินรถปรับอากาศของบริษัท ขนส่ง จำกัด (ปรับอากาศชั้น 2) และบริษัท นครชัยแอร์ จำกัด (รถปรับอากาศ V.I.P) วันละลหายเที่ยว ทั้งช่วงเวลากลางวันและกลางคืน จากกรุงเทพฯ ผ่านแยกหัวช้างในเส้นทาง [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24]] เพื่อไปสู่จังหวัดอุบลราชธานี ผู้โดยสารที่ประสงค์จะเดินทางมายังอำเภอไพรบึง สามารถใช้บริการเดินรถดังกล่าวเพื่อมาลงที่แยกหัวช้าง แล้วต่อมายังอำเภอไพรบึง ด้วยบริการรถโดยสารสาย ศรีสะเกษ-ขุนหาญ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2111 หรืออาจใช้บริการรถจักรยานยนต์รับจ้างจากแยกหัวช้างมายังตัวอำเภอไพรบึง
# เส้นทางกรุงเทพฯ - อุบลราชธานี บริการเดินรถโดยบริษัท ขนส่ง จำกัด (ปรับอากาศชั้น 1 และ 2) และบริษัท นครชัยแอร์ จำกัด (รถปรับอากาศ V.I.P)
 
# เส้นทางกรุงเทพฯ - เดชอุดม บริการเดินรถโดยบริษัท ขนส่ง จำกัด (ปรับอากาศชั้น 1 และ 2)
# เส้นทางกรุงเทพฯ - บุญฑริก บริการเดินรถโดยบริษัท ขนส่ง จำกัด (ปรับอากาศชั้น 1 และ 2)
ในเส้นทางลำดับที่ 2-5 มีบริการวันละหลายเที่ยว ทั้งช่วงเวลากลางวันและกลางคืน จากต้นทาง-ปลายทาง ผ่านแยกหัวช้างในเส้นทาง[[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 24]] ผู้โดยสารที่ประสงค์จะเดินทางมายังอำเภอไพรบึง สามารถใช้บริการเดินรถดังกล่าวเพื่อมาลงที่แยกหัวช้าง แล้วต่อมายังอำเภอไพรบึง ด้วยบริการรถโดยสารสาย ศรีสะเกษ-ขุนหาญ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2111 หรืออาจใช้บริการรถจักรยานยนต์รับจ้างจากสี่แยกหัวช้างมายังตัวอำเภอไพรบึง ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร
การเดินทางจากกรุงเทพมหานครมายังตัวอำเภอไพรบึงใช้เวลาเฉลี่ยประมาณ 8-9 ชั่วโมง เป็นระยะทางราว 500 กิโลเมตร เศษ
 
===สี่แยกหัวช้าง ชุมทางการเดินทาง===
== แหล่งท่องเที่ยว ==
สี่แยกหัวช้าง ในเขตบ้านหัวช้าง ตำบลสำโรงพลัน ของอำเภอไพรบึง ซึ่งอยู่ห่างจากเขตเทศบาลตำบลไพรบึง(ตัวอำเภอ)ไปทางทิศใต้ประมาณ 4 กิโลเมตร ตาม[[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 2111]] (ช่วงไพรบึง-ขุนหาญ)ถือเป็นชุมทางการคมนาคมและการขนส่งขนาดใหญ่จุดหนึ่ง เนื่องจากเป็นจุดตัดกับ[[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 24]] (ถนนโชคชัย-เดชอุดม) ชุมทางแห่งนี้มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการพักรถและพักผ่อนสำหรับผู้เดินทาง ซึ่งประกอบด้วยสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงขนาดใหญ่จำนวน 3 แห่งและขนาดเล็ก 1 แห่ง, ร้านอาหารและร้านสะดวกซื้อ, รีสอร์ทสำหรับพักค้างคืน 2 แห่ง ตลอดจนป้อมตำรวจหน่วยบริการประชาชนของสถานีตำรวจภูธรไพรบึง สี่แยกหัวช้างจึงเป็นพื้นที่สำคัญทางเศรษฐกิจที่คึกคักที่สุดแห่งหนึ่งของอำเภอไพรบึง
จากชุมทางดังกล่าวด้านตะวันออกเป็นเส้นทางเชื่อมโยงไปยัง อำเภอกันทรลักษ์ และจังหวัดอุบลราชธานี , ด้านทิศใต้ไปยังอำเภอขุนหาญ, ด้านทิศตะวันตกไปยังอำเภอขุขันธ์ และอำเภอภูสิงห์ ตลอดจนอำเภอต่างๆของ[[จังหวัดสุรินทร์]] ([[อำเภอสังขะ]] [[อำเภอปราสาท]]) [[จังหวัดบุรีรัมย์]] ([[อำเภอเฉลิมพระเกียรติ]] [[อำเภอประโคนชัย]] [[อำเภอนางรอง]] [[อำเภอหนองกี่]]) และ[[จังหวัดนครราชสีมา]] ([[อำเภอหนองบุญมาก]] [[อำเภอโชคชัย]] [[อำเภอปักธงชัย]] [[อำเภอสีคิ้ว]]) แล้วบรรจบกับ[[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 2]] ([[ถนนมิตรภาพ]])
 
=== หมวดการทางไพรบึง ===
หน่วยงานสังกัดแขวงการทางศรีสะเกษ สำนักทางหลวงที่ 8 กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม รับผิดชอบในการก่อสร้าง ดูแลและซ่อมบำรุงทางหลวงแผ่นดินในพื้นที่อำเภอไพรบึง ขุนหาญ ขุขันธ์ ศรีรัตนะ พยุห์
 
== แหล่งท่องเที่ยวและสถานที่สำคัญ ==
อำเภอไพรบึง เป็นอำเภอที่มีแหล่งท่องเที่ยวทั้งทางวัฒนธรรม และทางธรรมชาติ อาทิ
# วัดไพรบึง(วัดจำปาสุรภี) ประกอบด้วย พระธาตุวัดไพรบึง บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ศิลปะแบบเจดีย์[[พุทธคยา]]
# วัดปราสาทเยอเหนือ บ้านปราสาทเยอ มีปราสาทโบราณ [[ศิลปะ]][[ขอม]] สร้างราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 ปัจจุบันชำรุดหักพัง และวัดแห่งนี้ยังเป็นวัดแห่งแรกที่[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ทรงเสด็จพระราชดำเนินทอดพระกฐินเป็นการส่วนพระองค์ เมื่อวันที่ [[25 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2514]]<ref>[http://prasatyoe.go.th/default.php?modules=news&data=detail&Id=14 ข่าวประชาสัมพันธ์]อบต.ปราสาทเยอ สืบค้นวันที่ 28 กันยายน 2554</ref>
# [[บึงนกเป็ดน้ำไพรบึง]] (หนองใหญ่) เป็นบึงธรรมชาติขนาดใหญ่ มีฝูงนกเป็ดอาศัยอยู่น้ำหนาแน่นโดยเฉพาะในฤดูหนาว จึงเป็นแหล่งดู[[นกเป็ดน้ำ]]ที่สำคัญ
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* กรมศิลปากร. '''วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดศรีสะเกษ'''.คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว; [บรรณาธิการ : ปรุงศรี วัลลิโภดม],กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2544.
* เทศบาลตำบลไพรบึง.'''รายงานสรุป ประจำปีงบประมาณ 2553'''.จัดทำโดยเทศบาลตำบลไพรบึง
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.phraibueng.com/ เว็บไซต์ของเทศบาลตำบลไพรบึง]
* [http://www.apb.ac.th/ เว็บไซต์ของโรงเรียนอนุบาลไพรบึง]
* [http://www.pbk-school.com/ เว็บไซต์ของโรงเรียนไพรบึงวิทยาคม]
* [http://www.praibuenghospital.com/online/ เว็บไซต์ของโรงพยาบาลไพรบึง]
* [http://www.pribungsso.org/ เว็บไซต์ของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอไพรบึง]
* [http://www.sisaket.go.th เว็บไซต์ของจังหวัดศรีสะเกษ]
{{อำเภอจังหวัดศรีสะเกษ}}
{{โครงจังหวัด}}