ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตะโขง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 36:
 
ตะโขงเพศเมียถึงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 5-6 ปี หรือความยาว 2.50-3.0 เมตร มีพฤติกรรมการจับคู่แบบเดียวกับ[[นกเงือก]]คือ จะจับคู่เพียงตัวเดียวเท่านั้น โดยทำรังโดยพูนดินและวัชพืชขึ้นบนชายฝั่ง วางไข่ครั้งละ 20-60 ฟอง ใน[[ฤดูร้อน|ฤดูแล้ง]] ระยะฟักไข่ราว 2.5-3 เดือน เป็นตัวประมาณต้น[[ฤดูฝน]] การเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงเพิ่งประสบความสำเร็จเมื่อปี [[พ.ศ. 2548]] จาก[[ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ|ฟาร์มจระเข้ สมุทรปราการ]] เป็นครั้งแรกของโลก โดยได้พ่อแม่พันธุ์จาก[[ประเทศสิงคโปร์]]
 
สถานภาพในธรรมชาติของตะโขงนับว่าใกล้สูญพันธุ์มากแล้ว สำหรับในประเทศไทยไม่พบมีรายงานการพบตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2513]] ในอดีตมีรายงานการพบบ้างที่[[อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2503]] และ [[พ.ศ. 2504]] ในระยะหลังมีรายงานการพบบ้างที่[[อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน]] [[จังหวัดเพชรบุรี]]และ[[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด]] [[จังหวัดพัทลุง]] และ[[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสิรินธร]] (ป่าพรุโต๊ะแดง) [[จังหวัดนราธิวาส]] แต่ก็พบเพียง 1-2 ตัวเท่านั้น
 
ในกลางปี [[พ.ศ. 2550]] ได้มีการพบตะโขงขนาดเล็กที่ฝายเก็บน้ำแห่งหนึ่ง ที่[[อำเภอสัตหีบ]] [[จังหวัดชลบุรี]]<ref>[http://www.pattayadailynews.com/thai/shownews.php?IDNEWS=0000004296 “ไอ้เข้” โผล่ซ้ำเห็นชัดปากยาวเรียว แท้จริง “ตะโขง” สัตว์ป่าหายาก]</ref>
 
สำหรับสถานะใน[[อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์]] (ไซเตส) ถูกจัดให้อยู่ในบัญชีรายชื่อหมายเลขหนึ่ง (Appendix I) คือ ห้ามล่าหรือค้าโดยเด็ดขาด เว้นแต่เป็นไปเพื่อการศึกษาวิจัย
 
อนึ่ง บางข้อมูลได้จัดให้ตะโขงอยู่ใน[[Crocodylidae|วงศ์จระเข้]] (Crocodylidae) <ref>วีรยุทธ์ เลาหะจินดา, ''วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก'' หน้า 368 ([[พ.ศ. 2552]]) ISBN 978-616-556-016-0 </ref>
 
==ตะโขงในไทย==
สถานภาพในธรรมชาติของตะโขงนับว่าใกล้สูญพันธุ์มากแล้ว สำหรับในประเทศไทยไม่พบมีรายงานการพบตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2513]] ในอดีตมีรายงานการพบบ้างที่[[อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2503]] และ [[พ.ศ. 2504]] ในระยะหลังมีรายงานการพบบ้างที่[[อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน]] [[จังหวัดเพชรบุรี]]และ, [[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด]] [[จังหวัดพัทลุง]] และ[[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสิรินธร]] (ป่าพรุโต๊ะแดง) [[จังหวัดนราธิวาส]] แต่ก็พบเพียง 1-2 ตัวเท่านั้น
 
ในกลางปี [[พ.ศ. 2550]] ได้มีการพบตะโขงขนาดเล็กที่ฝายเก็บน้ำแห่งหนึ่งคลองถูป ที่[[อำเภอสัตหีบ]] [[จังหวัดชลบุรี]]<ref>[http://www.pattayadailynews.com/thai/shownews.php?IDNEWS=0000004296 “ไอ้เข้” โผล่ซ้ำเห็นชัดปากยาวเรียว แท้จริง “ตะโขง” สัตว์ป่าหายาก]</ref><ref>[http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9500000136995 ชาวบ้านตื่นหน้าเหมือนจระเข้โผล่-ที่แท้ “ตะโขง” สัตว์ป่าคุ้มครองหายาก]</ref>
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ตะโขง"