ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tona22 (คุย | ส่วนร่วม)
หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น [[หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทว...
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
"ณ อยุธยา" ออก
บรรทัด 1:
[[File:Suwaphan Sanitwong Na Ayutthaya - 001.jpg|หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ในบั้นปลายอายุ|200px|right|thumb]]
 
'''พันตรี หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา'''<ref>สุวพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. (2470). [http://www.homebankstore.com/dl/ebookthbl/147.pdf ''ข้าวของประเทศสยาม.''] พระนคร: โสภณพิพรรฒธนากร.</ref> ([[12 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2406]]-[[21 มกราคม]] [[พ.ศ. 2469]]) เป็นโอรสใน[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์]] กับหม่อมเขียน
 
หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ เข้าถวายตัวต่อ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ตั้งแต่อายุได้ 7 ปี และทรงเลือกให้เดินทางไปศึกษาในต่างประเทศ เพื่อสืบทอดวิชาแพทย์ต่อจากพระบิดา หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์เดินทางไปศึกษาที่[[สกอตแลนด์]] ตั้งแต่ พ.ศ. 2415 เมื่ออายุ 9 ปี จบการศึกษาแพทย์ศาสตร์จาก[[มหาวิทยาลัยเอดินเบิร์ก]] เดินทางกลับประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2427
บรรทัด 7:
หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ เข้ารับราชการเป็นผู้ช่วยของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ พระบิดา ทั้งด้านกิจการแพทย์ และการทหาร ได้รับพระราชทานยศพันตรี ช่วยปรับปรุงกิจการทหาร ร่วมจัดตั้งกรมยุทธนาธิการทหาร และเป็นเลขานุการพระบิดา ที่ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารเรือ
 
หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา กราบบังคมทูลลาออกจากราชการ พร้อมกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ เมื่อ พ.ศ. 2433 เพื่อประกอบกิจการส่วนตัวร่วมกับพระบิดา เป็นผู้ได้รับสัมปทานขุดคลองฝั่งตะวันออกของ[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ทางตอนเหนือของพระนคร จากตำบลบ้านใหม่ วัดเทียนถวาย ปทุมธานี ไปถึงนครนายก ในนาม[[บริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม]] คลองนี้ได้รับพระราชทานนามว่า "คลองรังสิตประยุรศักดิ์" หรือ "[[คลองรังสิต]]" <ref>[http://www.snidvongs.net/index.php?c_id=0&ct_id=9969&type=customize สายสกุลสนิทวงศ์]</ref>
 
หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ป่วยเป็นโรคไตพิการเรื้อรัง ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2469 อายุ 63 ปี
 
''สุวพันธุ์'' คือชื่อที่รับพระราชทาน<ref>ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. ''คนดีที่ข้าพเจ้ารู้จัก เล่ม 1''. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ชมรมดำรงวิทยา, 2526. ISBN 9789749557006</ref> ชื่อ ''สุวพรรณ'' นั้นท่านเปลี่ยนเองในปลายอายุของท่าน<ref>พบได้จาก "เข็มกลัดสุวพรรณ" ที่ท่านแจกญาติมิตรในช่วงปลายอายุ</ref> ''สนิทวงศ์'' ในอักษรโรมัน สะกดดังนี้ Sanidvongs<ref>[http://www.snidvongs.net/index.php?c_id=0&ct_id=8784&type=customize ลายพระราชหัตถเลขาฯ พระราชทานนามสกุล]</ref> ส่วน Dr.Yai Sanidvongs คือชื่อที่ชาวต่างชาติเรียกท่าน<ref>หนังสือ The rice of siam พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพ</ref>