เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Suisse (คุย | ส่วนร่วม)
Suisse (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Origin of the League of Nations.png|thumb|right|250px|การ์ดที่ระลึกในโอกาสก่อตั้งสันนิบาต คนในรูปคือประธานาธิบดี[[วูดโรว์ วิลสัน]] ผู้เสนอให้ก่อตั้งองค์การนี้ขึ้น]]
 
แนวความคิดของประชาคมนานาชาติที่อยู่ร่วมกันอย่างสันติมีมานานแล้ว ในปี ค.ศ. 1795 [[อิมมานูเอล คานต์]] เสนอให้มีการก่อตั้งองค์การที่จะไกล่เกลี่ยของพิพาทและรักษาสันติภาพระหว่างประเทศ ในงานเขียนของเขา ''Perpetual Peace: A Philosophical Sketch''<ref>{{cite web|url=http://www.mtholyoke.edu/acad/intrel/kant/kant1.htm|last=คานต์|first=อิมมานูเอล |publisher=Mount Holyoke College| title=Perpetual Peace: A Philosophical Sketch|accessdate=16 May 2008}}</ref> โดยเขาย้ำว่าแนวทางนี้ไม่ใช่การให้มีรัฐบาลปกครองโลก แต่ให้รัฐบาลของแต่ละประเทศเคารพพลเมืองของตน และต้อนรับชาวต่างประเทศในลักษณะที่เป็นมนุษย์ด้วยกัน สันติภาพระหว่างประเทศก็จะเกิดขึ้น<ref>{{cite web|url=http://www.constitution.org/kant/perpeace.htm|title=Perpetual Peace|author=Kant, Immanuel|year=1795|publisher=Constitution Society|accessdate=30 August 2011}}</ref>

ต่อมาเมื่อเกิด[[สงครามนโปเลียน]]ในศตวรรษที่ 19 ก็มีความพยายามร่วมมือกันเพื่อให้ยุโรปมีความมั่นคงยิ่งขึ้น รวมทั้งได้เกิด[[อนุสัญญาเจนีวา]]ขึ้นเพื่อมนุษยธรรมระหว่างสงคราม และ[[อนุสัญญาเฮก (1899 และ 1907)|อนุสัญญาเฮก]]ซึ่งกำหนดกฎเกณฑ์ของสงครามและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างประเทศ และในปี ค.ศ. 1889 นักรณรงค์สันติภาพได้ก่อตั้ง[[สมัชชาสหภาพรัฐสภา]] (Inter-Parliamentary Union: IPU) ขึ้นเพื่อสนับสนุนการเจรจาและการทูตในการแก้ไขข้อพิพาท<ref>{{cite web | title =Before the League of Nations | publisher = The United Nations Office at Geneva | url =http://www.unog.ch/80256EE60057D930/(httpPages)/B5B92952225993B0C1256F2D00393560?OpenDocument | accessdate =14 June 2008}}</ref>
 
ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 มีกลุ่มอำนาจใหญ่สองกลุ่มในยุโรปที่ขัดแย้งกัน และเป็น[[สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]ในปี ค.ศ. 1914 ซึ่งมีทหารเสียชีวิต 8.5 ล้านนาย ผู้บาดเจ็บ 21 ล้านคน และพลเรือนเสียชีวิต 10 ล้านคน สงครามนี้ได้ส่งผลกระทบในทุกด้านของชีวิต และทำให้เกิดกระแสต่อต้านสงครามทั่วโลก จนเกิดวลีเรียกสงครามโลกครั้งที่หนึ่งว่า "สงครามเพื่อที่จะหยุดสงครามทั้งหมด" และมีการสืบสวนถึงสาเหตุอย่างถี่ถ้วน ซึ่งพบว่าเกิดจาก การแข่งขันทางอาวุธ พันธมิตร การทูตลับ และเสรีภาพในการเข้าร่วมสงครามของรัฐต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ส่วนตน จึงมีการเสนอให้มีิองค์การระหว่างประเทศที่จะทำหน้าที่หยุดสงครามในอนาคตด้วย[[การลดอาวุธ]] การทูตอย่างเปิดเผย ความร่วมมือระหว่างประเทศ การควบคุมสิทธิในการเข้าร่วมสงคราม และการลงโทษประเทศที่ทำผิดกฎ
 
บุคคลสำคัญที่มีส่วนทำให้สันนิบาตชาติเป็นความจริงขึ้นมาคือประธานาธิบดี[[วูดโรว์ วิลสัน]]แห่งสหรัฐอเมริกา การตั้งสันนิบาตชาติเป็นหนึ่งใน[[หลักการสิบสี่ข้อ]]ของวิลสัน ซึ่งข้อ 14 ระบุว่า ''การรวมตัวกันของประชาชาติควรจะถูกก่อตั้งขึ้นภายใต้พันธะที่แน่นอนเพื่อจุดประสงค์ที่สามารถให้ความช่วยเหลือกันได้กับทุกฝ่าย และให้การรับรองแก่รัฐที่มีขนาดเล็กกว่าเทียบเท่ากับตนเอง โดยการจัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติขึ้นมา''<ref>{{cite web |first=Woodrow|last=Wilson|authorlink=Woodrow Wilson| date =8 January 1918 |title =President Woodrow Wilson's Fourteen Points | publisher =The Avalon Project | url =http://www.yale.edu/lawweb/avalon/wilson14.htm | accessdate =19 April 2008}}</ref> โดยในระหว่าง[[การประชุมสันติภาพที่ปารีส (1919)|การประชุมสันติภาพที่ปารีส]] ซึ่งมีสามประเทศใหญ่ผู้ชนะสงครามเข้าร่วมคือ อเมริกา ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร แนวความคิดการก่อตั้งสันนิบาตชาติได้รับการยอมรับ และกลายเป็นส่วนหนึ่งของ[[สนธิสัญญาแวร์ซายส์]]
 
[[กติกาสันนิบาตชาติ]]ถูกร่างขึ้นโดยคณะกรรมการพิเศษ โดยมี 44 ประเทศที่เซ็นยอมรับกติกานี้เมื่อ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย อย่างไรก็ดี ความพยายามของประธานาธิบดีวิลสันให้ก่อตั้งสันนิบาตชาติ ซึ่งทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1919 รัฐสภาอเมริกามีมติไม่ยอมให้ประเทศอเมริกาเข้าร่วมสันนิบาต ซึ่งจะเป็นเหตุผลที่ทำให้สันนิบาตล่มในเวลาต่อมา
 
สันนิบาตชาติเปิดประชุมคณะมนตรีหกวันหลังจากสนธิสัญญาแวร์ซายส์มีผลบังคับใช้ ต่อมาสำนักงานใหญ่ถูกย้ายไปกรุงเจนีวา และมีการประชุมสมัชชาใหญ่ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1920
While the First World War was still underway, a number of governments and groups had already started developing plans to change the way international relations were carried out to try to prevent another such conflict.{{sfn|Archer|2001|p=14}} United States President [[Woodrow Wilson]] and his adviser Colonel [[Edward M. House]] enthusiastically promoted the idea of the League as a means of avoiding any repetition of the bloodshed of the First World War, and the creation of the League was a centrepiece of Wilson's [[Fourteen Points|Fourteen Points for Peace]].{{sfn|Kawamura|2000|p=135}}<!--Is this reference necessary?--> Specifically the final point stated: "A general association of nations must be formed under specific covenants for the purpose of affording mutual guarantees of political independence and territorial integrity to great and small states alike."<ref>{{cite web |first=Woodrow|last=Wilson|authorlink=Woodrow Wilson| date =8 January 1918 |title =President Woodrow Wilson's Fourteen Points | publisher =The Avalon Project | url =http://www.yale.edu/lawweb/avalon/wilson14.htm | accessdate =19 April 2008}}</ref>
 
Before drafting the specific terms of his peace deal, Wilson recruited a team led by Colonel House to compile information deemed pertinent in assessing Europe’s geo-political situation. In early January 1918, Wilson summoned House to Washington and the two began hammering out, in complete secrecy, the president’s first address on the League of Nations, which was delivered to [[United States Congress|Congress]] on 8 January 1918.<ref>{{cite book|title=Woodrow Wilson|first=Auguste|last=Heckscher|page=470|isbn=0684193124|publisher=Scribner|year=1991}}</ref> Wilson's final plans for the League were strongly influenced by South African Prime Minister [[Jan Christiaan Smuts]], who in 1918 had published a treatise entitled ''The League of Nations: A Practical Suggestion''. According to F. S. Crafford, Wilson adopted "both the ideas and the style" of Smuts.{{sfn|Crafford|2005|p=141}}
 
On 8 July 1919, Wilson returned to the United States and embarked on a nation-wide campaign to secure the support of the American people for their country’s entry into the League. On 10 July, Wilson addressed the [[United States Senate|Senate]], declaring that "a new role and a new responsibility have come to this great nation that we honor and which we would all wish to lift to yet higher levels of service and achievement". Support, particularly from [[Republican Party (United States)|Republicans]], was scanty at best.<ref>{{cite book|title=The Presidency of Woodrow Wilson|first=Kendrick A|last=Clements|page=189|isbn=9780700605248|edition=3rd|publisher=University Press of Kansas|year=1992}}</ref>
 
The [[Paris Peace Conference, 1919|Paris Peace Conference]], convened to build a lasting peace after the First World War, approved the proposal to create the League of Nations ({{lang-fr|Société des Nations}}, {{lang-de|Völkerbund}}) on 25 January 1919.{{sfn|Magliveras|1999|p=8}} The [[Covenant of the League of Nations]] was drafted by a special commission, and the League was established by Part I of the [[Treaty of Versailles]]. On 28 June 1919,{{sfn|Magliveras|1999|pp=8–12}}{{sfn|Northedge|1986|pp=35–36}} 44 states signed the Covenant, including 31 states which had taken part in the war on the side of the [[Triple Entente]] or joined it during the conflict. Despite Wilson's efforts to establish and promote the League, for which he was awarded the [[Nobel Peace Prize]] in October 1919,{{sfn|Levinovitz|Ringertz|2001|p=170}} the United States did not join. Opposition in the Senate, particularly from Republican politicians [[Henry Cabot Lodge]] and [[William Edgar Borah|William E. Borah]] and especially in regard to [[Article X of the Covenant of the League of Nations|Article X of the Covenant]], ensured that the United States would not ratify the agreement.{{sfn|Northedge|1986|pp=85&ndash;89}}
 
The League held its first council meeting in Paris on 16 January 1920, six days after the Versailles Treaty came into force.{{sfn|Scott|1973|p=51}} In November, the headquarters of the League was moved to Geneva, where the first General Assembly was held on 15 November 1920.{{sfn|Scott|1973|p=67}}