ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ด่างทับทิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ice74395 (คุย | ส่วนร่วม)
เป็นการแก้ไขเพื่อให้ได้ถึงประโยชน์ต่างๆ ที่ได้ความรู้มากนิง่ขึ้นอาจจะมัข้อผิดพลาด
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 3584423 สร้างโดย Ice74395 (พูดคุย) ละเมิด
บรรทัด 133:
[[uk:Перманганат калію]]
[[zh:高锰酸钾]]
 
 
1. PP เป็นเกล็ดสีม่วง เบาและปลิวได้ง่าย เวลาตักใช้ควรดูทิศทางลมให้ดี อาจฟุ้งกระเด็นติดเสื้อผ้าได้ ทำให้ เสื้อผ้าเสียหายแบบถาวร ซักไม่ออก
หากกระเด็นเข้าตา ให้รีบล้างออกด้วยน้ำสะอาดทันที ล้างมาก ๆ และรีบไปพบแพทย์ทันที อาจถึงตาบอดได้ เรื่องนี้สำคัญมาก ฝรั่งบอกให้ใส่แว่นกันลม (แบบนักบิน) ด้วยซ้ำไป เวลาตัก PP
2. PP มีความเข้มข้นสูง ใช้แต่ละครั้งสัดส่วนไม่มากนัก การชั่งตวงน้ำหนักให้ถูกต้องเป็นสิ่งสำคัญ ไม่แนะนำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการตักวัดเป็นช้อนชา เนื่องจากมีความเบี่ยงเบนมาก ไม่แม่นยำ การชั่งโดยมีหน่วยน้ำหนักเป็นกรัม เป็นเรื่องสำคัญ
3. การใช้ PP Bomb จำเป็นต้องรู้ปริมาตรน้ำที่แน่นอน อย่างที่ว่าไปแล้ว PP มีความเข้มข้นสูง ถ้าคำนวณปริมาณน้ำผิดไป ทำให้ PP Bomb มีความเข้มข้นมากเกินไป อันตรายเป็นอย่างยิ่ง
 
PP. ลักษณะสมบัติ :
เป็นสารประกอบอัลคาไล ละลายน้ำได้ดี แตกตัวเป็นโปตัสเซียมอิออน (K+) และเปอร์แมงกาเนตอิออน (MnO4-) ตัวหลังนี้เป็น Oxidizing agent อย่างแรง ว่ากันง่าย ๆ คือเป็นตัวกัด/ย่อย สลายสารอื่น ๆ โดยเฉพาะสารอินทรีย์ที่อยู่ในน้ำ
เมื่อย่อยสลาย หรือ ออกซิไดซ์สารอื่นแล้วจะได้ แมงกานิสออกไซด์ (MnO2)
PP. ทำอะไรได้บ้าง
ด้วยลักษณะการเป็นออกซิไดซิ่ง เอเจ้นท์ อย่างแรง PP.จะเจาะทำลายผนังชั้นนอกของเซลล์ และสร้างสารประกอบอื่น ขึ้นมาแทน (คราบสีน้ำตาล) สารอินทรีย์ ต่าง ๆ ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต เช่นแบคทีเรีย ปรสิต โปรโตซัว ตะกอน ขี้ปลา สาหร่ายเซลล์เดียว ตะไคร่น้ำ อย่างไรก็ตามความสามารถในการทำลายของ PP. ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นที่ใช้ และระยะเวลาที่ใช้แช่
PP. สามารถใช้แก้ปัญหาในเบื้องต้นได้ในหลายกรณี มีปรสิต และแบคทีเรียหลายกลุ่ม หลายตัว ที่อยู่ในขอบเขตการทำลายของ PP. หลายชื่อคุ้น ๆ กันอยู่ Saprolegnia, Costia, Chilodinella, Ich, Fluke ทั้งที่เหงือกและตัว, Columnaris, กลุ่ม Aeromonas และ Pseudomonas รวมถึงเชื้อราและไวรัสต่าง ๆ
ทั้งนี้ PP. สามารถกำจัดได้เฉพาะแต่ตัวที่อาศัยอยู่ในน้ำและภายนอกตัวปลาเท่านั้น พวกที่อาศัยอยู่ภายในตัวปลาและขี้ปลา อำนาจการทำลายล้างของ PP.ไม่อาจครอบคลุมได้ทั้งหมด
 
 
 
ข้อเด่นของ PP.
1. ใช้กำจัด FLUKE
2. ใช้ชะล้าง, ทำความสะอาดแผลสด
3. กำจัดแบคทีเรียในน้ำ
4. จัดการ Saprolegnia ซึ่งเป็นตัวซ้ำเติมโรครู (ULCERS)
5. จัดการชำระคราบสกปรก ตะกอน สาหร่ายเซลล์เดียว และกลุ่ม DOC
 
ข้อจำกัดของ PP.
1. ห้ามใช้ร่วมกับฟอร์มาลินเป็นอันขาด, 2 ตัวนี้รวมกันเป็นสารพิษร้ายแรง
2. ใช้ออกซิเจนเป็นจำนวนมาก ๆ การใช้ PP. จำเป็นต้องมั่นใจว่าปริมาณออกซิเจนในน้ำมีเพียงพอ เหลือพอ ควรใช้ปั๊มลมเพิ่มเติมจากที่มีอยู่
3. ด้วยว่า PP. เป็นตัวกัดทำลายที่มีประสิทธิภาพ เนื้อเยื่อต่าง ๆ ของปลารวมทั้งเหงือกด้วย ต่างไม่รอด ฤทธิ์เดชของ PP.
4. ปลาบางตัวอาจไม่คุ้นเคยกับ PP. โดยเฉพาะในช่วงแรกและช่วงปลายของ PP Bomb จะมีการกระโดด หรือช็อคน้ำ ให้เตรียมตัวรับมือไว้ด้วย
5. ไม่แนะนำให้ทำ PP Bomb ในช่วงบ่ายหรือวันที่อากาศร้อนจัด เนื่องจากปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำมีน้อยกว่าปกติ
6. การทำ PP Bomb ควร By pass ระบบกรองเพื่อไม่ให้แบคทีเรียในระบบกรองถูกทำลายไป ดังนั้นจำเป็นต้องเติมออกซิเจนในบ่อกรองให้มากเข้าไว้ เนื่องจากในช่วงเวลาที่ทำ PP Bomb น้ำไม่ไหลเวียน ทำให้ในบ่อกรองขาดออกซิเจน
7. กล่าวกันไว้ว่าให้หลีกเลี่ยงการทำ PP Bomb ในน้ำกระด้างมาก (GH > 300 ppm)
8. PP Bomb ไม่work กับปรสิตตัวใหญ่ เช่นเห็บ หนอนสมอ รวมทั้งพวกไข่ของปรสิตที่มีเปลือกหนา จึงจำเป็นต้องทำซ้ำ 3-4ครั้ง เพื่อตัดวงจรชีวิตของปรสิต
 
การนำด่างทับทิมไปใช้กับการเลี้ยงปลา
1.ใช้ในการทำความสะอาดอาหารสด
 
ปลาบางชนิดที่กินอาหารสดเป็นอาหาร เช่น ลูกน้ำ หนอนแดง ไรน้ำ อาร์ทีเมีย ไส้เดือนแดง ฯลฯ จะต้องนำอาหารสดนั้นไปแช่ในด่างทับทิมเข้มข้น 500-1,000 ส่วนในล้านส่วน (0.5-1.0 กรัม ต่อน้ำ 1 ลิตร) ประมาณ 10-20 นาที เพื่อฆ่าเชื้อโรคที่ติดมากับอาหาร แล้วจึงล้างออกด้วยน้ำสะอาดหลายๆน้ำ หรือเปิดน้ำจากก๊อกให้ไหลผ่านอาหารสดนั้นไประยะหนึ่ง จนกว่าน้ำที่ไหลผ่านจะใส ไม่เป็นสีม่วง
 
2.ใช้ในการทำความสะอาดวัสดุ อุปกรณ์ตกแต่งตู้ปลา
ในการจัดตู้ปลาบางคนจะนำของมาตกแต่งตู้เพื่อความสวยงาม เช่น ขอนไม้ ต้นไม้น้ำ ก้อนหิน เป็นต้น ซึ่งในปลาบางชนิดจะไวต่อสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในน้ำ อาจจะทำให้ปลาป่วยหรือมีอาการผิดปกติได้ (ไม่ได้หมายความว่าการนำสิ่งของลงไปในตู้ปลาจะทำให้ปลาป่วยเสมอไป) ดังนั้นเพื่อความมั่นใจว่าสิ่งของที่เรานำลงไปนั้นจะไม่มีสิ่งแปลกปลอมลงไป ก่อนที่จะนำขอนไม้ ก้อนหินลงไปจัดตู้ เราควรจะนำไปแช่ในน้ำผสมด่างทับทิมก่อนนำไปใช้
 
ในส่วนของต้นไม้น้ำที่ซื้อมาจากร้าน เราไม่ทราบได้ว่ามีสิ่งแปลกปลอมใดจะติดมากับต้นไม้ต้นนั้นบ้าง รวมถึงสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่นไข่หอย อาจเป็นปัญหาในภายหลังได้ การนำต้นไม้น้ำไปแช่ในน้ำผสมด่างทับทิม จะช่วยลดปริมาณเติบโตของไข่หอยที่ติดมาได้ (ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณการใช้และเวลาที่นำไปแช่) นอกจากนั้นแล้ว ยังสามารถนำอุปกรณ์ต่างๆไปล้างทำความสะอาดในน้ำผสมด่างทับทิมได้ด้วยเช่นกัน
 
3.ใช้ในการทำความสะอาดตู้ปลา
การใช้ด่างทับทิมในการล้างทำความสะอาดตู้ปลา โดยการเปิดน้ำใส่ตู้แล้วใส่ด่างทับทิมลงไปแช่ทิ้งไว้สัก 1 คืน หรือแล้วแต่ใครจะมีเวลามากน้อยแค่ไหน เท่านี้ก็ช่วยในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียต่างๆได้ในระดับหนึ่ง ในบางครั้งเมื่อปลาที่เราเลี้ยงอยู่ เกิดอาการป่วยและมีตู้พักปลาป่วย เมื่อปลาหายป่วยแล้วก่อนจะย้ายกลับมาตู้ใหญ่ปกติ ก็แช่ด่างทับทิมแบบเจือจางน้ำพอเป็นสีชมพูอ่อนๆ สัก 20-30 นาที ก่อนตักไปรวมกับปลาตัวอื่น เพื่อให้มั่นใจว่าไม่มีแบคทีเรียติดไปจากตู้พักปลาไปอยู่ในตู้ใหญ่ครับ แต่ไม่ได้หมายความว่าโรคของปลาจะไม่ไปติดกับปลาตัวอื่นนะครับ เองจากด่างทับทิมไม่ได้เป็นยารักษาโรคปลา ดังนั้น ต้องให้แน่ใจก่อนว่าปลาที่ป่วยนั้นหายดีจริงๆแล้วจึงค่อยจับไปรวมกับปลาตัวอื่น
 
คำเตือน : โปรดระวังมือเปื้อนด่างทับทิมแล้วจะล้างไม่ออก อิอิ การสัมผัสด่างทัมทิมโดยตรงจะทำให้มือ ซอกเล็บ เป็นสีน้ำตาลแล้วจะล้างออกยากมากครับต้องรอให้มันจางหายลอกออกไปเอง แต่ก็ใช้เวลาหลายวันอยู่เหมือนกัน เคยอ่านเจอบางคนบอกว่าให้ใช้มะนาวหรือส้มมาขัดมือ แล้วสีน้ำตาลจะจางหาย แต่อาจ