ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรมันคาทอลิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แปลบทนำจากวิกิEng
บรรทัด 1:
{{คริสต์}}
<!-- หมายเหตุ ถ้าจะเปลี่ยนหรือเพิ่มหัวข้อ กรุณาร่วมหารือใน หน้าอภิปราย บทความนี้เป็นอธิบายกว้างๆ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และปรัชญาของลัทธิหรือนิกาย ไม่เฉพาะเจาะจงเฉพาะท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง -->
'''พระศาสนจักรคาทอลิก''' ({{lang-en|Catholic Church}}) หรือที่คริสตจักรอื่น ๆ เรียกว่า'''คริสตจักรโรมันคาทอลิก''' (Roman Catholic Church) เป็น[[คริสตจักร]]ที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน<ref>{{cite news|url=http://news.bbc.co.uk/1/hi/4243727.stm|quote=The Roman Catholic Church - the largest branch of Christianity - says there are a total of 1.086 billion baptised members around the globe. This figure is expected to exceed 1.1 billion in 2005, with rapid growth in Africa and Asia. However, there are no reliable figures for the number of practising Catholics worldwide.|publisher=BBC|title=Factfile: Roman Catholics around the world|date=1 April 2005|accessdate=2011-08-19}}</ref> มี[[พระสันตะปาปา]]เป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ [[การประกาศข่าวดี]]เรื่อง[[พระเยซูคริสต์]]<ref>{{cite web|url=http://www.vatican.va/archive/compendium_ccc/documents/archive_2005_compendium-ccc_en.html#God%20Comes%20to%20Meet%20Man |title=''Compendium of the CCC'', 11 |publisher=Vatican.va |date= |accessdate=2011-06-30}}</ref> โปรด[[ศีลศักดิ์สิทธิ์]]<ref>{{cite web|url=http://www.vatican.va/archive/compendium_ccc/documents/archive_2005_compendium-ccc_en.html#The%20Sacramental%20Economy |title=''Compendium of the CCC'', 226 |publisher=Vatican.va |date= |accessdate=2011-06-30}}</ref> และปฏิบัติกิจเมตตา<ref>{{cite web|url=http://www.vatican.va/archive/compendium_ccc/documents/archive_2005_compendium-ccc_en.html#Mans%20Vocation:%20Life%20in%20the%20Spirit |title=''Compendium of the CCC'', 388 |publisher=Vatican.va |date= |accessdate=2011-06-30}}</ref> ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์[[อารยธรรมตะวันตก]]<ref name="O'CollinsPref">O'Collins, p. v (preface). Woods, T., How the Catholic Church Build Western Civilization.</ref> คริสตจักรนี้สอนว่าศาสนจักรคาทอลิกเป็นคริสตจักรแท้เพียงแห่งเดียวที่ก่อตั้งโดยพระเยซู โดยมี[[มุขนายก]]เป็นผู้สืบทอดตำแหน่งมาจาก[[อัครทูต]]ของพระคริสต์ และมี[[พระสันตะปาปา]]ที่สืบตำแหน่งมาจาก[[นักบุญเปโตร]]<ref name = "Apostolic succession">{{cite web|title=The Apostolic Tradition|url=http://www.vatican.va/archive/ENG0015/__PK.HTM|work=Catechism of the Catholic Church|publisher=Vatican|accessdate=2011-07-22}}</ref> ชาวคาทอลิกถือว่าศาสนจักรคาทอลิกเป็นคริสตจักรแท้ ดั้งเดิม สอนหลักความศรัทธาและศีลธรรมไม่มีผิดพลาด ศาสนจักรยังเน้นความสำคัญของ[[พิธีบูชาขอบพระคุณ]]<ref>[http://www.vatican.va/archive/ENG0015/__P3X.HTM Catechism of the Catholic Church, "The Eucharist - Source and Summit of Ecclesial Life"]</ref> สอนว่าขนมปังและเหล้าองุ่นในพิธีศีลมหาสนิทเมื่อเสกแล้วเปลี่ยนสารเป็นพระมังสะและพระโลหิตจริง ๆ ของพระเยซู ทั้งยังให้ความสำคัญกับพระแม่[[มารีย์มารดาของพระเยซู]]เป็นพิเศษ คือเชื่อว่าพระแม่ทรง[[แม่พระปฏิสนธินิรมล|ปฏิสนธินิรมล]]และ[[แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์|ได้รับเกียรติยกขึ้นสวรรค์]]ภายหลังมรณกรรม<ref name="Munificentissimus Deus">Apostolic Constitution of Pope Pius XII: [http://www.vatican.va/holy_father/pius_xii/apost_constitutions/documents/hf_p-xii_apc_19501101_munificentissimus-deus_en.html ''"Munificentissimus Deus'': Defining the Dogma of the Assumption"]. November 1, 1950. Retrieved 2011-06-15.</ref>
'''คริสตจักรโรมันคาทอลิก''' (Roman Catholic Church) เป็น[[คริสตจักร]]ที่เก่าแก่ที่สุด มีประมุขสูงสุดคือ[[พระสันตะปาปา]] มีศูนย์กลางการปกครองคือ[[สันตะสำนัก]] ใช้[[ภาษาละติน]]เป็นภาษาทางศาสนา
ในประเทศไทย อาจเรียกคริสตศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกว่า "(ชาว)คริสตัง"
 
ในประเทศไทย อาจเรียกคริสตศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกว่า "(ชาว)คริสตัง"
คำว่า "คาทอลิก" แปลว่า "สากล" หมายถึง ปฏิปทาของคนทั่วไป <ref>เสฐียร พันธรังษี. 2527: 347</ref>
อย่างไรก็ตาม คริสตศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก ไม่ถือว่าตนเองเป็นนิกายหนึ่ง แต่เป็นคริสต์ศาสนาที่สืบเนื่องมาจากต้นกำเนิด และถือว่าพวกตนเป็นผู้อนุรักษ์คำสั่งสอนที่ได้รับมาจากพระเยซูอย่างซื่อสัตย์ อีกทั้งเป็นผู้ปกป้องพระศาสนาให้เจริญก้าวหน้ามาโดยตลอด
 
== ประวัติ ==