ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:การอนุญาโตตุลาการ/คู่มือการอนุญาโตตุลาการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 200:
หากข้อเสนอที่ขัดแย้งกันไม่อาจระงับได้โดยพิจารณาจากการออกเสียงอย่างมีเงื่อนไข เช่นนั้นเสมียนจะพยายามพิจารณามติมหาชนของ คอต. โดยพิจารณาเสียงในกรณีคัดค้าน เช่น หากเสียงขางมากเป็น 6 ข้อเสนอที่ได้รับเสียง 7-0 จะผ่าน ส่วนทางเลือกที่ได้รับเสียง 6-3 จะตกไป
 
อนุญาโตตุลาการควรออกเสียงให้ชัดเจนที่สุดเท่าที่จะทำได้ ส่วนเสมียนจะหยิบยกการตีความที่กำกวมหรือยากให้อนุญาโตตุลาการสนใจ โดยออกความเห็นในส่วน'''หมายเหตุการนำไปปฏิบัติ'''ในหน้าร่างคำตัดสิน
 
=== การปิดคดี ===
เมื่อเสียงในร่างคำตัดสินมีเสียงข้างมากแล้ว เสมียนมักทิ้งควาเห็นไว้ในส่วน'''หมายเหตุการนำไปปฏิบัติ'''ของหน้าร่างคำตัดสิน ชี้ว่าข้อเสนอนั้นผ่านและไม่ผ่าน และการตีความการออกเสียงอย่างมีเงือ่นไขใด ๆ บนข้อเสนอทางเลือก
หากอนุญาโตตุลาการพอใจกับคำตัดสินถึงที่สุดซึ่งสะท้อนมติมหาชนของ คอต. อนุญาโตตุลาการคนหนึ่งจะสร้างญัตติเพื่อปิดคดี ระยะมติเพื่อปิดคดีนั้นเปิดโอกาสสุดท้ายให้อนุญาโตตุลาการทบทวนคดีและการออกเสียง เพื่อประกันว่าการออกเสียงอย่างมีเงื่อนไขทั้งหมดถูกตีความอย่างถูกต้อง และผลลัพธ์ของคดีนั้นสะท้อนเจตนาของตน อนุญาโตตุลาการอาจคัดค้านการปิดคดี หากพวกเขารู้สึกว่าคำตัดสินนั้นยังไม่ชัดเจน การตีความไม่ถูกต้อง หรือเพื่อขยายเวลาให้อนุญาโตตุลาการคนอื่นออกเสียง
คดีจะเปิดโดยเสมียน หลังมีการออกเสียงให้ปิดคดีบ้าง แต่ไม่ก่อนหน้า 24 ชั่วโมงหลังมีญัตติให้ปิดคดี
ตำตัดสินจะถูกเผยแพร่ในหน้าพูดคุยของผู้มีส่วนทุกคนและในกระดานประกาศผู้ดูแลระบบ และการเยียวยาใด ๆ (การสกัด การสั่งห้าม การจำกัดบความหรือการแก้ไข) จะมีผลนับแต่นั้น
 
[[หมวดหมู่:การอนุญาโตตุลาการวิกิพีเดีย]]