ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกอิชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
เกอิชา ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น เกชะ
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Japan-Kyoto-Geisha.jpg|thumb|200px| หญิงสาวแต่งกายเป็น'''ไมโกะ''' (เกอิชาเกชะฝึกหัด) ใน[[เกียวโต]] [[ประเทศญี่ปุ่น]]]]
 
'''เกอิชาเกชะ''' ({{ญี่ปุ่น|芸者|geisha|เกชะ|ศิลปิน“ศิลปิน”}}) เป็น[[อาชีพ]]หนึ่งของสตรี[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]ในสมัยก่อน ถือว่าเป็นผู้ที่ชำนาญทาง[[ศิลปะ]] และให้ความเพลิดเพลินบันเทิงใจ เป็นเสมือนผู้คอยต้อนรับและปรนนิบัติแขก เกอิชาเกชะมีอยู่แพร่หลายอย่างมากในญี่ปุ่น ในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 18]] และ[[คริสต์ศตวรรษที่ 19|19]] เมื่อ [[ค.ศ. 1920]] มีจำนวนเกอิชาเกชะถึง 80,000 คน ส่วนในปัจจุบันแม้ว่าจะยังมีอาชีพเกอิชาเกชะ แต่จำนวนค่อยๆ ลดลงอย่างต่อเนื่อง สำหรับเกอิชาเกชะฝึกหัดจะเรียกว่า '''ไมโกะ''' ({{ญี่ปุ่น|舞子|maiko}})
 
คำว่า "เกอิชาเกชะ" นั้น ภาษาญี่ปุ่นออกเสียงว่า "เกชะ" ในแถบ[[คันไซ]] เรียกว่า ''เกงิ'' (芸妓, げいぎ) ส่วนเกอิชาเกชะฝึกงาน หรือ "เกโกะ" (芸子, げいこ) นั้น มีใช้มาตั้งแต่[[สมัยเมจิ]] ส่วนคำว่า "กีชา" ที่เรียกว่า "สาวเกอิชาเกชะ" นั้น นิยมเรียกในช่วงปฏิบัติการร่วมระหว่างญี่ปุ่นและ[[อเมริกา]] หมายถึง หญิงขายบริการ แต่เรียกตัวเองว่า "เกอิชาเกชะ"
 
อาชีพของเกอิชาเกชะนั้น พัฒนาขึ้นมาจาก ''ไทโคะโมะชิ'' หรือ ''โฮคัง'' ซึ่งคล้ายกับพวกตลกหลวงในราชสำนัก เกอิชาเกชะในสมัยแรกนั้นล้วนเป็นผู้ชาย ส่วนผู้หญิงที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกันนั้น จะเรียกกันว่า "อนนะ เกชะ" (女芸者) หรือ เกอิชาเกชะหญิง แต่ในปัจจุบัน เกอิชาเกชะเป็นหญิงเท่านั้น
 
[[ไฟล์:CalGeisha.svg|thumb|100px|left|อักษรญี่ปุ่น “เกชะ” หมายถึง ศิลปิน]]
 
เดิมนั้นหญิงที่จะทำอาชีพเกอิชาเกชะจะได้รับการฝึกอบรมตั้งแต่เด็ก สำนักเกอิชาเกชะมักจะซื้อตัวเด็กหญิงมาจากครอบครัวที่ยากจน แล้วนำมาฝึกฝนเลี้ยงดูโดยตลอด ในช่วงวัยเด็ก พวกเขาจะทำงานเป็นหญิงรับใช้ เพราะผู้ช่วยเกอิชาเกชะรุ่นพี่ในสำนัก ถือเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกฝนด้วยเช่นกัน และเพื่อชดใช้กับค่าเลี่ยงดูและการอบรมสั่งสอน การสอนและฝึกฝนอาชีพที่ยาวนานเช่นนี้ นักเรียนจะอาศัยอยู่ในบ้านของครูผู้ฝึก ช่วยทำงานบ้าน สังเกต และช่วยครู และเมื่อชำนาญเป็นเกอิชาเกชะแล้ว สุดท้ายก็จะเลื่อนขึ้นไปสู่ตำแหน่งครูผู้ฝึกอบรมต่อไป การฝึกอบรมนี้จะต้องใช้เวลานานหลายปีทีเดียว
 
ในเบื้องต้นนั้นเด็กสาวจะได้เรียนศิลปะหลายๆ แขนง ได้แก่ การเล่นดนตรี (โดยเฉพาะ[[ชามิเซน]] รูปร่างคล้าย[[กีตาร์]]) การขับร้อง การเต้นรำ [[การชงชา]] [[การจัดดอกไม้]] (อิเคบะนะ) รวมถึงเรื่อง[[บทกวี]]และ[[วรรณคดี]] การได้คอยเป็นผู้ช่วยและได้เห็นเกอิชาเกชะรุ่นพี่ทำงาน พวกเขาก็จะมีความชำนาญมากขึ้น และเรียนรู้ศิลปะที่ซับซ้อนขึ้น เช่น การแต่งชุด[[กิโมโน]] รวมถึง[[การพนัน]]หลายแบบ รู้จักการสนทนา และการโต้ตอบกับลูกค้า
 
เมื่อหญิงสาวได้เข้ามารับการฝึกฝนเป็นไมโกะ หรือเกอิชาเกชะฝึกหัด ก็จะเริ่มติดตามเกอิชาเกชะรุ่นพี่ไปยัง[[โรงน้ำชา]] งานเลี้ยง และการสังสรรค์ต่างๆ ที่เป็นสภาพแวดล้อมการทำงานจริงของเกอิชาเกชะ ทำให้ได้ประสบการณ์ทำงานจริง และมีความชำนาญขึ้นเรื่อยๆ
 
[[ไฟล์:Gion.jpg|thumb|300px|ตำบลกิอง แหล่งเกอิชาเกชะในเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น]]
 
"เกอิชาเกชะนั้นไม่ใช่[[โสเภณี]]" แม้ว่าในอดีตจะมีการขายพรหมจารีอย่างถูกต้อง และเกอิชาเกชะก็ไม่จำเป็นต้องมีเพศสัมพันธ์กับลูกค้า แม้ว่าลูกค้าจะจ่ายเงินซื้อเพื่อการนี้ก็ตาม เกอิชาเกชะกับโสเภณี มีความแตกต่างพอสมควร โดยสังเกตอย่างง่ายจากการแต่งตัว โดยที่โสเภณีจะมีสายโอบิผูกชุดที่สามารถแกะได้จากข้างหน้า เพื่อความสะดวกในถอดชุดออกออก เครื่องประดับของเหล่าหญิงโสเภณีมีความงดงาม หรูหรา ฟู่ฟ่า ในขณะที่เกอิชาเกชะมีผ้าโอบิผูกจากข้างหลังตามชุดกิโมโนทั่วไป เครื่องประดับนั้นจะเรียบง่ายแต่แสดงออกถึงความสวยงามตามธรรมชาติ ในรูปแบบของศิลปะได้อย่างดีทีเดียว
 
เกอิชาเกชะสมัยใหม่จะไม่ถูกซื้อตัว หรือพามายังสำนักเกอิชาเกชะตั้งแต่เด็กเหมือนแต่ก่อนอีกแล้ว การเป็นเกอิชาเกชะในสมัยใหม่นั้น เป็นไปโดยสมัครใจทั้งสิ้น และการฝึกฝนอาชีพนั้น จะเริ่มต้นที่หญิงสาว ช่วงวัยรุ่นตอนปลาย ไม่ใช่เด็กหญิงอย่างแต่ก่อน และจะใช้เวลาที่ยาวนานและยุ่งยากมาก เพราะฝึกเมื่ออายุมาก
 
ปัจจุบันเกอิชาเกชะยังคงอาศัยอยู่มากในสำนักเกอิชาเกชะ ในบริเวณพื้นที่ซึ่งเรียกว่า ''ฮะนะมะชิ'' (花街 "เมืองดอกไม้") หรือ ''คะเรียวไค'' (花柳界 "โลกของดอกไม้และต้นหลิว") ซึ่งคล้ายกับย่านโพนโทะโช ในเกียวโต
 
เกอิชาเกชะนั้นมักได้รับการว่าจ้างให้ปรนนิบัติหมู่คณะ และมักทำงานร่วมกัน ในโรงน้ำชา (茶屋, ''ชะยะ'') หรือร้านอาหารแบบดั้งเดิมของญี่ปุ่น โดยเวลาใช้บริการนั้นจะใช้[[ธูป]]จุดเป็นเกณฑ์วัด เรียกว่า "เซนโคได"(線香代, "ค่าธูป") หรือ ''เคียวคุได'' (玉代 "ค่าเพชร") ลูกค้าจะติดต่อโดยผ่านสำนักติดต่อเกอิชาเกชะ หรือ “เคนบัน” (検番) ซึ่งจะมีตารางนัดของเกอิชาเกชะแต่ละคน และทำการนัดหมาย ทั้งเพื่อการทำงานและการฝึกฝนอาชีพ
 
เมื่อหญิงที่ทำงานเป็นเกอิชาเกชะแต่งงาน ก็จะเลิกจากอาชีพนี้ หากไม่แต่งงาน เมื่ออายุมากขึ้น ก็จะเลิกอาชีพนี้เช่นกัน แต่อาจทำงานเป็นเจ้าของร้านอาหาร ครูสอนดนตรี เต้นรำ หรือครูสอนเกอิชาเกชะต่อไปก็ได้
 
 
== เกอิชาเกชะสมัยใหม่ ==
[[ซายูกิ]] (ฟิโอน่า เกรแฮม เกิดที่เมลเบิร์น) เป็นชาวออสเตรเลีย ที่ทำงานเป็นเกอิชาเกชะในประเทศญี่ปุ่น เธอยังเป็นนักมนุษยวิทยา ผู้ผลิตและ ผู้กำกับภาพยนตร์สารดคี รวมทั้งทำงานที่สถานีโทรทัศน์ไม่ว่าจะเป็น NHK National Geographic Channel 4 และ BBC
หลังจากที่ได้รับการฝึกอบรมในสำนักเกอิชาเกชะเป็นเวลาหนึ่งปี ในปี 2007 ซายูกิก็ได้กลายเป็นเกอิชาเกชะเต็มตัว ณ. ย่านอาซาคุซะ ในมหานครกรุงโตเกียว และเป็นเกอิชาเกชะชาวตะวันตกคนแรกในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น ซายูกิได้รับการฝึกฝนศิลปะหลาย ๆ แขนง ได้แก่ การเล่นดนตรี การขับร้อง การเต้นรำ การชงชา รวมทั้งเรื่องบทกวีและวรรณคดี สิ่งที่ซายูกิชำนาญมากที่สุดก็คือ ขลุ่ยญี่ปุ่นที่ชื่อว่า “โยะโคะบุเอะ” (Yokobue)
ซายูกิจบการศึกษาปริญญาตรีสาขามนุษยวิทยาจากมหาวิทยาลัย Oxford และปริญญาโท MBA จากมหาวิทยาลัยเดียวกัน ซายูกิยังเป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเคโอ หนึ่งในมหาลัยที่มีชื่อเสียงของญี่ปุ่น และยังเคยทำงานในบริษัทญี่ปุ่น เช่น Tokyo’s night world กับที่นักกีฬาญี่ปุ่น รวมทั้งอะนิเมชั่น
หนังสือของซายูกิ “Inside the flower and willow world” โดยสำนักพิมพ์ Pan Macmillan ประเทศออสเตรเลีย หนังสือสารคดีเกี่ยวกับโลกของเกอิชาเกชะ
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์|Geisha|เกอิชาเกชะ}}
* [http://oldworld.sjsu.edu/asiangate/floating_world/geishah.html ประวัติศาสตร์เกอิชาเกชะ]
* [http://www.immortalgeisha.com/ig/index.html เว็บไซต์ Immortal Geisha]
* [http://www.sofieloafy.net/geishamain.htm คาเรียวไค]
* [http://photoguide.jp/pix/index.php?cat=69 ภาพเกอิชาเกชะสวยๆ จากเว็บไซต์photoguide.jp]
* [http://www.whatever.net.au/~amaya/geisha/ เกอิชาเกชะ จากเว็บไซต์ Whatever.net]
* [http://www.mitene.or.jp/~houkan/2002/e01.html บทบาทของนักปรนนิบัติชาย]
* [http://www.thekeep.org/~kunoichi/kunoichi/themestream/taikomochi.html ประวัติของไทโคะโมะชิ หรือนักปรนนิบัติชาย]
* [http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=144823&NewsType=1&Template=1 ‘ไมโกะ’ นาฏศิลป์ระดับสูงสตรีญี่ปุ่น]
 
{{เรียงลำดับ|กเกอิชากเกชะ}}
 
[[หมวดหมู่:ประเทศญี่ปุ่น]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เกอิชา"