ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 165:
{{บทความหลัก|เกลอิชซชาลทุง|นาซีเยอรมนี|พรรคนาซี}}
 
[[ฮิตเลอร์]]ได้รับตำแหน่ง[[อัครมหาเสนาบดีแห่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี]]เมื่อวันที่ [[30 มกราคม]] [[ค.ศ. 1933]] เขาได้ใช้[[เหตุการณ์เพลิงไหม้รัฐสภาไรซ์ตาร์กไรช์สทัก]] (ซึ่งมีบางคนกล่าวว่าพรรคนาซีเป็นต้นเหตุเสียเอง) เป็นเหตุให้เขายกเลิกเสรีเสรีภาพของประชาชนและนักการเมืองทั้งหมด ซึ่งได้ออกประกาศโดยประธานาธิบดี [[พอล วอนฟอน ฮินเดนเบิร์กนเดนบูร์ก]] และ[[รัฐบาลผสม]] ซึ่งมีแนวความคิดเอียงขวา นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์
 
หลังจากการเลือกตั้งครั้งใหม่ พรรคนาซีได้ล้มล้าง[[ระบบรัฐสภา]] รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ และล้มล้างรัฐสภาอย่างเต็มรูปแบบผ่าน [[ร่างกฎอนุมัติปี 1933รัฐบัญญัติมอบอำนาจ]] เมื่อวันที่ [[23 มีนาคม]] ซึ่งพรรคนาซีวางแผน [[เกลอิชซชาลทุง]] และทำให้ถูกต้องตามกฎหมายในเยอรมนี ทำให้อำนาจการปกครองถูกรวมเข้าสู่ศูนย์กลาง คือ พรรคนาซี ใน "[[คืนแห่งมีดเล่มยาว]]" สมาชิกพรรคนาซีได้สังหารศัตรูทางการเมืองของฮิตเลอร์ หลังจากฮินเดนเบิร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ [[2 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1934]] ตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งเยอรมนีตกเป็นของฮิตเลอร์ โดยไม่เกิดการต่อต้านจากผู้บัญชาการระดับสูง คำสาบานของเหล่าทหารนั้นหมายความว่า ทหารเยอรมันจะยอมเชื่อฟังอดอล์ฟ ฮิตเลอร์โดยสมบูรณ์
 
ต่อมา ฮิตเลอร์ได้ฝ่าฝืนสนธิสัญญาแวร์ซายส์และ[[สนธิสัญญาโลคาร์โน]] เยอรมนีได้[[การส่งทหารกลับเข้าประจำการในแคว้นไรน์แลนด์|ส่งทหารกลับเข้าประจำการในแคว้นไรน์แลนด์]] เมื่อวันที่ [[7 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1936]] ซึ่งก็ได้รับความสำเร็จอย่างงดงาม กองทหารเยอรมันเดินทางโดยรถจักรยาน และสามารถถูกยับยั้งอย่างง่ายดายถ้าหากฝ่ายสัมพันธมิตรยกเลิกแผนการเอาใจฮิตเลอร์ ฝรั่งเศสไม่สามารถทำอะไรได้ในเวลานั้น เนื่องจากขาดเสถียรภาพทางการเมือง และอีกประการหนึ่ง คือ การส่งทหารกลับเข้าประจำการนั้นเกิดขึ้นในวันสุดสัปดาห์ และรัฐบาลอังกฤษยังไม่สามารถประชุมหารือกันได้จนกว่าจะถึงวันจันทร์ ผลที่ตามมา คือ อังกฤษก็มิได้ห้ามปรามเยอรมนีแต่อย่างใด