ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: sco:Ali
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{อิสลาม}}
'''อิมามอะลีย์อะลี อิบน์ บินอะบี ฏอลิบ''' ({{lang-ar|علي بن أﺑﻲ طالب}}; {{lang-en|ʿAlī ibn Abī Ṭālib}}) เป็นบุตรเขยของศาสนทูต[[มุฮัมมัด]] อิมามที่ 1 ตามทัศนะ[[ชีอะหฺอะฮ์]] อย่างไรก็ตามทัศนะของมัซฮับ[[ซุนนีย์นี]] อิมามอะลีย์อิมามอะลีเป็นคอเคาะลีฟะหฺที่ฟะฮ์ที่ 4 และ[[ศูฟีย์]]เกือบทุกสายถือว่าเป็นปฐมาจารย์ ต่างก็ยกย่อง อะลีย์ลี ว่าเป็นสาวกผู้ทรงธรรมและเป็นปราชญ์ผู้ประเสริฐเลิศ
 
'''อิมามอะลีย์ บินอะบีฏอลิบ''' บุตรเขยของศาสนทูต[[มุฮัมมัด]] อิมามที่ 1 ตามทัศนะ[[ชีอะหฺ]] อย่างไรก็ตามทัศนะของมัซฮับ[[ซุนนีย์]] อิมามอะลีย์เป็นคอลีฟะหฺที่ 4 และ[[ศูฟีย์]]เกือบทุกสายถือว่าเป็นปฐมาจารย์ ต่างก็ยกย่อง อะลีย์ ว่าเป็นสาวกผู้ทรงธรรมและเป็นปราชญ์ผู้ประเสริฐเลิศ
 
== ประวัติ ==
 
อะลีย์กำเนิดในลีกำเนิดใน[[กะอฺบะหฺกะอ์บะฮ์]] มหานคร[[มักกะหฺกะฮ์]] วันที่ 13 เดือนร่อเราะญับ [[ปีช้าง]]ที่ 30 ตรงกับวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 599 หรือปีที่ 10 ก่อน[[มับอัษ]]การแต่งตั้งศาสดามุฮัมมัด
 
บิดาของท่านคือ [[อะบูฏอลิบ]] และมารดาคือ [[ฟาฏิมะหฺ บินตุ อะสัด]]
 
ท่านมีบุตร 36 คน ในจำนวนนั้นคือ [[ฮะซัน อิบน์ อะลี|ฮะซัน]] [[ฮุเซนฮุซัยน์ อิบน์ อะลี|ฮุซัยน์]] ซัยนับ และ[[มุฮัมมัด อิบนุลฮะนะฟียะหฺ]]
 
อิมามอะลีย์อิมามอะลี ถูกพวกคอวาริจญ์คนหนึ่งลอบทำร้ายที่เมือง[[กูฟะหฺ]] วันที่ 17 รอมะฎอน ปี ฮ.ศ. 40 ด้วยการใช้ดาบฟันอาบยาพิษฟันบนศีรษะของท่าน และแล้ว วันที่ 21 รอมะฎอน ปี ฮ.ศ. 40 ตรงกับวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 661 ท่านก็สิ้นอายุขัย สุสานอันประเสริฐของท่านอยู่ที่ เมือง[[นะญัฟ]]ประเทศ[[อิรัก]]
 
== นะหฺญุลบะลาเฆาะหฺ ==
 
[[นะหฺญุลบะลาเฆาะหฺ]] (ยอดโวหาร) เรียกในภาษาอังกฤษว่า Peak of Elloquence เป็นหนังสือรวบรวมสุนทโรวาทและสุภาษิตของอะลีย์ลี ที่เป็นมรดกอันล้ำค่าตกทอดมาจนถึงวันนี้ รวบรวมโดย [[ชะรีฟ อัรรอฎีย์]]
 
'''ตัวอย่างจากนะหฺญุลบะลาเฆาะหฺ'''
เส้น 23 ⟶ 22:
 
 
== วรรณกรรมอิมามอะลีย์อิมามอะลี ==
 
นอกจากคำปาฏกถาปาฐกถา และ[[ฮะดีษ]]แล้ว ยังมีบทกวีมากมาย ที่บันทึกจากอิมามอะลีย์อิมามอะลี และมีการรวบรวมเป็นเล่ม
 
=== ตัวอย่างบทกวีของอิมามอะลีย์อิมามอะลี ===
 
{{เริ่มบทกวี}}
เส้น 57 ⟶ 56:
{{จบบทกวี}}
 
=== ตัวอย่างสุนทรโรวาทของอิมามอะลีย์อิมามอะลี ===
 
การให้อภัย
เส้น 84 ⟶ 83:
๐ กิจกรรมที่ดีเลิศของบุคคลผู้หนึ่งที่ยิ่งใหญ่ก็คือ การให้อภัยและการลืม
 
== ความพิเศษของอิมามอะลีย์อิมามอะลี ==
นักปราชญ์ชาวซุนนะหฺอย่างน้อย ๑๐ ท่านได้รายงาน[[ฮะดีษ]]เกี่ยวกับภักดีต่ออะลีย์ลี เป็นทางนำสู่สวรรค์ เพราะการภักดีต่อท่านเป็นการภักดีต่ออัลลอหฺ
 
นักปราชญ์ชาวซุนนะหฺอย่างน้อย ๘ ท่านได้รายงาน[[ฮะดีษ]]เกี่ยวกับการที่ ท่านนบีได้เรียกทักทายอะลีย์ว่าลีว่า "สวัสดี นายแห่งมุสลิมชน และ อิมามแห่งชนผู้ยำเกรง"
 
[[ฮะดีษ]]ดังกล่าวเป็นการอธิบายความหมายและจุดประสงค์ของอายะหฺอัลกุรอานในเรื่องของอิมามยังไม่น่าสงสัย
 
๒. ในการขอพรดังที่กล่าวมา ท่านนบีมูซา ได้ขอจากอัลลอหฺ ให้แต่งตั้ง "อะหฺลี" (คนในครอบครัวข้าฯ) เป็นผู้ช่วยกิจการ แล้วท่านนบีก็ได้ขอให้อัลลอหฺแต่ตั้งคนในครอบครัวของท่านเป็นผู้ช่วยกิจการของท่านเช่นกัน คนๆนั้นคือท่านอะลีย์ลี ตาม[[ฮะดีษ]] ดังกล่าว นั่นก็เพราะว่าท่านมีคุณสมบัติที่ครบถ้วนเหมาะแก่การเป็นผู้นำ และเป็นผู้หนึ่งในจำนวนสี่คนที่ท่านนบีได้เอาผ้ามาคลุมเป็นสัญลักษณ์ ตอนอายะหฺ ๓๓:๓๓ ลงมา แล้วขอพรว่า โอ้อัลลอหฺ พวกเขาเหล่านี้คือครอบครัวของข้าฯ ขอให้พระองค์ขจัดความโสโครกออกไปจากพวกเขา และได้ทรงขัดเกลาให้พวกเขาสะอาด
 
ถึงแม้ ท่านหญิงอุมมุซะละมะหฺ ซึ่งอยู่ในเหตุการณ์ต้องการเข้ามาในผ้านั้น ท่านนบีก็ไม่อนุญาตให้ นี่เป็นหลักฐานแสดงให้เห็นว่า ภรรยาท่านนบีไม่ใช่อะหฺลุลบัยตฺตามที่อัลกุรอานประสงค์ (มีตำราชาวซุนนะหฺระบุเรื่องนี้ อย่างน้อย ๕๓ เล่ม)
 
อายะหฺ ๓๓:๓๓ เป็นหลักฐานบ่งบอกถึงความสะอาดของท่านอะลีย์ลีผู้ที่ได้รับสมญานามว่าเป็นวะลีย์ (ผู้ปกครอง) ดั่งที่กล่าวมาข้างต้นในข้อ ๑.
 
๓. เมื่อท่านอะลีย์ลีเป็นผู้ปกครองดั่งที่กล่าวมาแล้ว ผู้ตามก็ต้องจงรักภักดี และการจงรักภักดีนี้จึงเป็นหลักการศรัทธาที่สามารถจะเป็นเครื่องตัดสินว่า คน ๆ หนึ่งเป็นผู้ศรัทธาหรือไม่ อัลกุรอานบอกว่า "จงกล่าวเถิด ว่าฉันจะไม่ขอสิ่งใดเป็นเครื่องตอบแทน นอกจากการรักต่อญาตินี้ (อัชชูรอ ๒๓) นั่นคือ อะลีย์ลี ฟาฏิมะหฺ ฮะซัน และฮุเซน ตาม[[ฮะดีษ]]ที่รายงานในตำราชาวซุนนะหฺ อย่างน้อย ๓๓ เล่ม
 
ความรักที่เป็นภาคบังคับไม่ใช่ความรักธรรมดา และไม่ใช่ต่อคนธรรมดา ความรักนี้เป็นความรักต่อบรรดาผู้คนที่อัลลอหฺได้ประกันสวนสวรรค์ให้ ผู้ใดที่ไม่รักอะลีย์และอีกลีและอีก ๓ คนนั้น ก็จะกลายมุนาฟิกโดยไม่ต้องมาโต้แย้ง ([[ฮะดีษ]]เกี่ยวกับเรื่องนี้มีอยู่ในตำราซุนนะหฺมากมาย) เพราะการรักที่อายะหฺดังกล่าวต้องการได้กลายเป็นสัญลักษณ์หนึ่งการศรัทธาที่ถูกต้อง
 
== แหล่งข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง ==