ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครงสร้างทรงโค้ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: gl:Bóveda (arquitectura)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:Edinburgh valuts 2.jpg|thumb|250px|เพดานโครงสร้างทรงโค้งที่[[เอดินบะระ]]ที่ [[สกอตแลนด์]]]]
'''เพดานโครงสร้างทรงโค้ง''' ({{lang-en|Vault}}; {{lang-fr|voute}}; {{lang-de|Gewölbe}}; {{lang-ca|volta}}) ในทาง[[สถาปัตยกรรม]]หมายถึงโค้ง (arch) ที่เป็นช่องใต้[[เพดาน]]หรือ[[หลังคา]]<ref name="concise">
| url = http://concise.britannica.com/ebc/article-9381834/vault
| title = Vault
บรรทัด 7:
| accessdate = 2007-07-18
}}</ref>
โครงสร้างของเพดานโครงสร้างทรงโค้งจะทำให้เกิดทำให้เกิดแรงผลัก (thrust) จึงจำเป็นต้องมี “แรงต้าน” ([[:en:Friction|Friction]]) เป็นการโต้ ถ้าเพดานโครงสร้างทรงโค้งสร้างใต้ดิน“แรงต้าน” พื้นดินก็จะเป็นตัวต้าน แต่เมื่อสร้างเพดานโครงสร้างทรงโค้งบนดิน[[สถาปนิก]]ก็ต้องหาวิธีสร้าง “แรงต้าน” ที่ทำให้เพดานโครงสร้างทรงโค้งทรงอยู่ได้ซึ่งก็อาจจะได้แก่กำแพงที่หนาในกรณีที่เป็นเพดานโครงสร้างทรงโค้งทรงประทุน หรือ[[ค้ำยัน]]ซึ่งใช้ในสร้าง “แรงต้าน” ในกรณีที่เพดานโครงสร้างทรงโค้งมาตัดกัน
 
เพดานโครงสร้างทรงโค้งแบบที่ง่ายที่สุดเพดานโครงสร้างทรงโค้งประทุน หรือ “เพดานโครงสร้างทรงโค้งถังไม้” (barrel vault) หรือบางทีก็เรียก “เพดานโครงสร้างทรงโค้งอุโมงค์” ซึ่งเป็นเพดานทรงโค้งครึ่งวงกลม ความยาวของเส้นรอบครึ่งวงกลมของเพดานโครงสร้างทรงโค้งแบบนี้จะยาวกว่าเส้นผ่าศูนย์กลาง เมื่อสร้างช่างจะสร้างโครงค้ำยันโค้งชั่วคราวเพื่อเป็นแบบสำหรับวางหินรอบส่วนโค้งที่เรียกว่า “voussoir” ที่ยังรับน้ำหนักตัวเองไม่ได้จนกระทั่งวางจากหินก้อนสุดท้ายตรงกลางโค้งที่เรียกว่า “หินหลักยอดโค้ง” ถ้าเป็นบริเวณที่ไม้หาง่ายช่างก็จะใช้โครงไม้ครึ่งวงกลมสำหรับเป็นแบบวางหินรอบส่วนโค้ง เมื่อเสร็จก็ถอดโครงออกแล้วลากเอาไปสร้างเพดานโครงสร้างทรงโค้งช่วงต่อไป ในสมัยโบราณโดยเฉพาะที่ชาลเดีย (Chaldaea) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[อาณาจักรบาบิโลเนีย]] และที่ [[ประเทศอียิปต์|อียิปต์]]ที่ไม้หายากสถาปนิกก็ต้องใช้วิธีอื่นช่วย ในสมัย[[สถาปัตยกรรมโรมันโบราณ|โรมันโบราณ]]สถาปนิก[[โรมัน]]ก็จะโครงสร้างนี้เป็นปกติ{{Fact|date=July 2007}}
 
== ชนิดของเพดานโครงสร้างทรงโค้ง ==
::* [[โดม]] (Dome) คือโครงสร้างที่เป็นทรงครึ่งวงกลมหรือใกล้เคืยง
::* [[เพดานโครงสร้างทรงโค้งประทุน]] (barrel vaults) คือโครงสร้างที่มีลักษณะเหมือนถังไม้ หรืออุโมงค์ที่ผ่าครึ่งทำให้มีลักษณะเป็นเพดานโครงสร้างทรงโค้งต่อเนื่อง<ref>{{cite web
| url = http://www.pitt.edu/~medart/menuglossary/barrel.htm
| title = Glossary of Medieval Art and Architecture - barrel vault or tunnel vault
บรรทัด 19:
| accessdate = 2007-07-17
}}</ref>
::* [[เพดานโครงสร้างทรงโค้งประทุนซ้อน]] (Groin vault หรือ double barrel vault หรือ cross vault) คือโครงสร้างที่เป็นเพดานโครงสร้างทรงโค้งสองอันตัดกัน เพดานส่วนที่ตัดกันบางครั้งก็จะโค้งแหลมแทนที่จะกลม
::* [[เพดานโครงสร้างทรงโค้งสัน]] (Rib vault) คือเพดานโครงสร้างทรงโค้งที่ทำให้แข็งแรงขึ้นด้วยสันซึ่งเป็นลักษณะเพดานโครงสร้างทรงโค้งที่นิยมกันใน[[สถาปัตยกรรมแบบกอธิค]]
::* [[เพดานพัด]] (Fan vault) เป็นเพดานที่ใช้ในสถาปัตยกรรมแบบเพอร์เพ็นดิคิวลาร์ ([[:en:Perpendicular Period|Perpendicular]]) ซึ่งเป็นสมัยหนึ่งของ[[สถาปัตยกรรมกอธิค]]ซึ่งสันของเพดานแยกออกไปเป็นแฉกคล้ายรูป[[พัด]] ซึ่งเป็น[[สถาปัตยกรรม]]ที่มีเฉพาะใน[[อังกฤษ]]
 
บรรทัด 27:
 
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==
{{Commonscat|vaults|เพดานโครงสร้างทรงโค้ง}}
* [[แผนผังมหาวิหาร]]
* [[สถาปัตยกรรมกอธิค]]
บรรทัด 37:
<gallery perrow="5">
ภาพ:Dome001.png|โดม
ภาพ:Tunnvalv.png|เพดานโครงสร้างทรงโค้งประทุน
ภาพ:Groined vault 001.png|เพดานโครงสร้างทรงโค้งประทุนซ้อน
ภาพ:Quadripartite rib vault-scheme.png|เพดานโครงสร้างทรงโค้งสัน
ภาพ:Net-vault Brockhaus 1888.png|เพดานแห
ภาพ:Capitol dome.jpg|โดมตึกรัฐสภา[[สหรัฐอเมริกา]] [[กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.]]
ภาพ:Frankreich-Montmajour-Maurinerkloster-Kreuzgang.jpg|เพดานโครงสร้างทรงโค้งประทุนที่[[ประเทศฝรั่งเศส]]
ภาพ:DSC01484 - Umanitaria, Milano - Chiostro grande.jpg|เพดานโครงสร้างทรงโค้งประทุนซ้อนที่สำนักสงฆ์[[ลัทธิฟรานซิสกัน]]ที่ [[มิลาน]][[ประเทศอิตาลี]]
ภาพ:Hereford cathedral 009.JPG|เพดานโครงสร้างทรงโค้งสันที่[[มหาวิหารแฮรฟอร์ด]]
ภาพ:Bath.abbey.fan.vault.arp.jpg|เพดานพัดที่[[มหาวิหารบาธ]]
</gallery>