ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:การระงับข้อพิพาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 6:
 
=== มุ่งที่เนื้อหา ไม่ใช่ตัวบุคคล ===
{{ดูเพิ่มที่|วิกิพีเดีย:นโยบายการเขียน}}
ขั้นแรก สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการพุ่งมุ่งให้ความสนใจไปยังกับเนื้อหา ไม่ใช่ผู้ที่ร่วมแก้ไข วิกิพีเดียถูกสร้างขึ้นมาโดยมีนโยบายให้ทุกคนรากฐานอยู่บนหลักการแห่งความร่วมมือกัน และการ[[WP:AGF|เชื่อว่าความพยายามของผู้อื่นมีเจตนาดี]]นั้นเป็นสิ่งที่สำคัญในทุก ๆ สังคม หากคุณพบว่าบทความมีส่วนใดที่คลาดเคลื่อนหรือไม่เป็นกลาง จงพยายามปรับปรุงบทความเท่าที่คุณพึงทำได้ตามความสามารถ หากการปรับปรุงนั้นมิอาจทำได้โดยง่ายและคุณไม่เห็นด้วยกับมุมมองที่แสดงในบทความนั้น อย่าเพียงแค่แต่ลบเนื้อหาออก แต่ควรปรับสมดุลตามที่คุณไม่เห็นด้วย คุณควรเห็นว่าจะแก้ไขบทความโดยการทำให้บทความนั้นมี[[WP:NPOV|มุมมองที่เป็นกลาง]] ทั้งนี้ข้อความที่ปราศจากแหล่งอ้างอิงอาจถูกลบทำเครื่องหมายหรือนำออกได้เนื่อง จากนโยบายวิกิพีเดียที่ว่า[[WP:V|วิกิพีเดียข้อมูลต้องพิสูจน์ยืนยันได้]]
 
อธิบายเหตุผลที่คุณเบื้องหลังการแก้ไขบทความของคุณใน[[วิธีใช้:คำอธิบายอย่างย่อ|คำอธิบายอย่างย่อ]]เสมอ การใช้คำอธิบายอย่างย่อจะทำให้ผู้ร่วมแก้ไขคนอื่น ๆ เข้าใจในสิ่งที่คุณพยายามจะแก้ไข หากการแก้ไขอาจก่อให้เกิดการถกเถียงกัน ก็จงอธิบายว่าเหตุใดคุณจึงแก้ไขและการแก้ไขนั้นทำให้บทความดีพัฒนาขึ้นได้อย่างไร หากเหตุผลดังกล่าวเป็นเหตุผลที่ของคุณซับซ้อน กรุณายกการแก้ไขของให้คุณไปอธิบายยังสร้างส่วนใหม่ในหน้าพูดคุยด้วยของบทความเพื่ออธิบายและอ้างถึงส่วนนั้นในคำอธิบายอย่างย่อ เพื่อที่หากการแก้ไขของคุณเกิดถูกย้อนกลับ คุณจะยังสามารถพูดคุยเกี่ยวอภิปรายการย้อนนั้นกับการแก้ไขดังกล่าวผู้เขียนคนอื่นในหน้าพูดคุยอภิปรายได้ โดยสรุปแล้วสิ่งที่คุณควรทำไม่ใช่การสร้างความขัดแย้ง แต่ควรอธิบายด้วยเหตุและผลกับผู้ที่คุณขัดแย้งให้เข้าใจ และเตรียมตัวที่จะเปลี่ยนใจหากผู้อื่นมีเหตุผลที่ดีกว่า
 
โดยสรุป โปรดอย่าถือสาพฤติกรรมของผู้อื่น ให้อธิบายด้วยเหตุและผลกับเขา และอย่ายึดมั่นแต่ความคิดของตัวเอง
 
=== ใจเย็น ๆ ===