ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดคาร์บอกซิลิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Switayakran (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Switayakran (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
กรดคาร์โบซิลิกมีอยู่ทั่วไปในธรรมชาติและโดยปกติแล้วมีคุณสมบัติเป็น[[กรดอ่อน]](weak acids) นั่นก็คือเมื่อกรดคาร์โบซิลิกละลายใน[[น้ำ]]ก็จะเกิด[[การแตกตัว]]เพียงบางส่วนให้ H<sup>+</sup> และRCOO<sup>−</sup> ตัวอย่างเช่น ที่อุณภูมิห้อง[[กรดอะซิติก]] (acetic acid) เกิดการแตกตัวเพียงแค่ 0.02% ในสารละลาย
 
[[ออกซิเจน]] 2 อะตอมในโมเลกุลมีแนวโน้มที่จะดึงเอา[[อิเลคตรอนอิเล็กตรอน]]มาจากอะตอม[[ไฮโดรเจน]] ซึ่งทำให้[[โปรตอน]] หลุดออกจากโมเลกุลได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ความป็นกรดของกรดคาร์โบซิลิกยังสามารถอธิบายได้จากผลของ [[resonance (chemistry)|resonance]] effects นั่นคือเมื่อเกิดการแตกตัวของกรดคาร์โบซิลิกประจุลบจะเกิดการเคลื่อนที่(delocalized) ระหว่างออกซิเจนอะตอม 2 อะตอมทำให้โมเลกุลเสถียรขึ้น นอกจากนี้ พันธะระหว่างคาร์บอน-ออกซิเจนจะมีลักษณะที่เรียกว่า กึ่งพันธะคู่ (partial double bond characteristic)