ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงปู่ผาง จิตฺตคุตฺโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sethasilp (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{กล่องข้อมูล พระสงฆ์ไทย |ชื่อ = ผาง |ชื่อภาพ = |ฉายา = จิตฺตคุตฺโต |...
 
Suthummo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
'''หลวงพ่อผาง''' ([[5 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2445]] — [[24 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2528]]) พระคณาจารย์ผู้โด่งดัง ที่ได้อุทิศตนให่แก่พระพุทธศาสนา จนประชาชนชาวพุทธศาสนาได้เลื่อมใสศรัทธาท่าน และเวลามีงานบุญใด ๆ ท่านก็จะเป็นองค์ประธานร่วมอนุโมทนาในการทำบุญในครั้งนี้ด้วย ท่านได้สร้างพระพุทธรูป สร้างสาธารณะให้ดียิ่งขึ้น เพื่อเจริญพระพุทธศาสนาต่อไป
== ประวัติ ==
'''หลวงพ่อผาง'''ท่านมีนามเดิมว่า ผาง ครองยุติ เกิดเมื่อวันที่ [[5 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2445]] ณ บ้านกุดกะ เสียน ตำบลเขื่อนใน จังหวัอุบลราชธานี เป็นบุตรของนายทัน และ นางบัพพา ครองยุติ ในช่วงชีวิตเยาว์วัย หลวงปู่ท่านได้เรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ท่านมีอุปนิสัยรักความเป็นธรรม มีความซื่อสัตย์ มีความเมตตากรุณาต่อสัตว์ และ ชอบทำประฌยชน์ให้กับส่วนรวมเสมอ <ref> [http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=6704 ชาติกำเนิดหลวงพ่อผาง]</ref> ต่อมาได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุใน[[มหานิกาย]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2465]] ณ วัดเขื่องกลาง บ้านเขื่องใน ตำบลเขื่องใน อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีพระครูดวน เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์ดี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ท่านศึกษาพระธรรมวินัย มีความรู้พอสมควร ต่อมาจึงได้ลาสิกขาจากสมณเพศ และได้มีครอบครัวตามประเพณีอยู่หลายปี แต่ไม่มีลูก <ref> [http://www.relicsofbuddha.com/marahun/page8-2-47.htm ชีวประวัติหลวงพ่อปาง จิตตคุตฺโต]</ref> ในชีวิตฆราวาสของท่าน ท่านเป็นคนที่มีความขยัน มีความเจใสในงาน ประกอบอาชีพทำไร่ไถนา บางครั้งก็เป็นพ่อค้าเรือใหญ่บรรทุกข้าวจากแม่น้ำมูลไปขายตามลำน้ำชีน้อย บางครั้งก็เป็นพ่อค้าวัว นำวัวไปขายที่เขมรต่ำ หลวงปู่ได้ใช้ความพยายามอย่างเต็มที่ในการสร้างฐานะให้แก่ครอบครัว <ref> [http://www.larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000202.htm ปฏิปทาของหลวงพ่อผางในชีวิตฆราวาส]</ref> ต่อมาเมื่ออายุได้ 43 ปี ท่านก็ได้ตัดสินใจออกบวชครั้งที่ 2 เมื่อปี [[พ.ศ. 2488]] เป็นพะสงฆ์ฝ่าย [[ธรรมยุตินิกาย]] พร้อมกับภรรยา ภรรยาบวชเป็นชี ส่วนเงินที่เหลือ ท่านได้มอบให้กับบุตรบุญธรรม ที่วัดคูขาด บ้านศรีสุข ต.เขื่องใน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี มีพระครูศรีสุตตาภรณ์ (ตื๋อ) เป็นพระอุปัชฌาย์ ส่วนพระกรรมวาจาจารย์และพระอนุสาวนาจารย์ไม่ปรากฎ หลังจากอุปสมบทแล้ว ท่านได้จำพรรษาอยู่ที่วัดเดิม แต่ท่านได้เข้าศึกษาอบรมพระกรรมฐาน อยู่ในสำนักวัดป่าวารินชำราบ อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี กับพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม (เจ้าคุณพระญาณวิศิษฎ์)และหลวงปู่มหาปิ่น และหลังจากปฏิบัติธรรมกับพรอาจารย์สิงห์แล้ว ท่านก็เดินธุดงค์ไปฝากตัวเป็นศิษย์กับ [[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] ได้พอสมควร ก็ท่องเที่ยววิเวกไปแต่ผู้เดียวในป่าเขา จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นถิ่นทุรกันดารเป็นเวลาหลายปี ต่อมาท่านได้เดินธุดงค์ไปจำพรรษาอยู่หลายวัด และในระหว่างนั้น ท่านได้สร้างวัดแห่งใหม่ขึ้นมาคือ [[วัดบ้านแจ้ง]] ในปี [[พ.ศ. 2505]] และได้เป็นประธานในการสร้างพระธาตุขามแก่น นโรดม ในปี [[พ.ศ. 2523]] เพื่อเฉลิมฉลองกรุงรัตนโกสินทร์มีอายุได้ 200 ปี ([[พ.ศ. 2325]] - [[พ.ศ. 2525|2525]]) และท่านได้ร่วมทอดผ้ากฐินสามัคคีเมื่อวันที่ [[21 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2524]] <ref> [http://www.bp.or.th/webboard/index.php?topic=8418.0;wap2 ประวัติหลวงพ่อผาง วัดบ้านแจ้ง]</ref> หลวงพ่อท่านได้เข้ารักษาตัเมื่อวันที่ [[28 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2524]] และได้ถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ [[24 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2528]] สิริรวมสิรอายุได้ 81 ปี <ref> [http://www.dlitemag.com/index.php?option=com_content&view=article&id=539:2011-01-27-01-43-25&catid=60:-lite-voyage&Itemid=59 ความเสียสละของหลวงปู่ผาง]</ref>
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}