ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พญาญี่บา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
พระยาญี่บา ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น พญาญี่บา
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
พระยายีบา → พญาญี่บา
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
เส้น 5 ⟶ 7:
| ภาพ =
| พระบรมนามาภิไธย =
| พระปรมาภิไธย = พระยายีบาพญาญี่บา
| วันพระราชสมภพ =
| วันสวรรคต =
เส้น 24 ⟶ 26:
}}
'''พระยายีบาพญาญี่บา'''<ref>[[ประเสริฐ ณ นคร]]. (2549, กุมภาพันธ์). ''ประวัติศาสตร์เบ็ดเตล็ด.'' กรุงเทพฯ: มติชน. ISBN 9743236007. หน้า 268.</ref> พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งอาณาจักรหริภุญชัย ปกครองในช่วงปี [[พ.ศ. 1814]] – [[พ.ศ. 1836]] รวมระยะเวลาการครองราชย์ 22 ปี
 
== ประวัติ ==
'''พระยายีบาพญาญี่บา''' ได้ปกครองอาณาจักรหริภุญชัยต่อจากพระยาโยทะ ซึ่งพระยาโยทะได้ครองอาณาจักรนี้นานถึง 74 ปี เมื่อพระยาโยทะสิ้นพระชนม์ พระยายีพญาญี่บาจึงได้ปกครองอาณาจักรแห่งนี้ต่อ ก่อนที่จะถูกทำลายโดยพระยาเม็งรายแห่งอาณาจักรล้านนา โดยพระยายีพญาญี่บาเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายใน[[อาณาจักรหริภุญชัย]] และเป็นการปิดฉาก[[ราชวงศ์หริภุญชัย]]ที่ปกครองมาตั้งแต่สมัย[[พระนางจามเทวี]]เป็นพระปฐมกษัตรีย์พระองค์แรก
 
== การขยายอำนาจของล้านนา ==
 
ในปี [[พ.ศ. 1805]] (จ.ศ. 624) [[พระยามังราย]]ใด้สร้างเมือง[[เชียงราย]]ขึ้น และทรงเห็นว่า[[ล้านนา]]ไทยแยกกันเป็นหลายวงศ์ ควรรวมกันเป็นแผ่นดินเดียวกันเสีย ดำริแล้วจึงยกทัพไปตีเมืองมอบไร เชียงคำ เชียงร้าง ฝาง เชียงของ และเชิง ต่อมาจะตีเมืองลำพูน (หริภุญชัย) เพราะเป็นเมืองที่มั่งคั่ง แต่ขุนนางชื่อขุนฟ้า ค้านว่าเป็นการยากเพราะกำลังข้าศึกมีมากนัก ควรใช้อุบายยุยงให้แตกแยกกันเสียก่อน ครั้นแล้วพระยามังรายจึงทำอุบายเนรเทศขุนฟ้าออกจากเมืองฐานกบฏ ขุนฟ้าจึงได้ไปรับราชการอยู่กับพระยายีพญาญี่บาเจ้าเมืองลำพูนนานถึง 7 ปี และได้ทำอุบายต่างๆ ให้พระยายีพญาญี่บากดขี่ราษฎร จนชาวเมืองเกลียดชังพระยายีบาพญาญี่บา
 
== สิ้นสุดอาณาจักรหริภุญชัย ==
 
ด้วยอุบายของขุนฟ้าที่ประจบสอพลอพระยีบาทำให้ประชาชนเกลียดชัง พระยามังรายได้ยกทัพไปตีเมืองลำพูนได้อย่างง่ายดายในปี [[พ.ศ. 1824]] (จ.ศ. 643) พระยายีพญาญี่บาเสด็จหนีออกเมืองไปถึงดอยกลางป่าก็คิดนึกได้ที่เสียรู้ขุนฟ้าเป็นไส้ศึกให้พระยาเม็งรายก็เสียใจหลั่งน้ำตาร้องไห้ สถานที่น้ำตาตกนี้จึงมีชื่อว่า “ดอยพระยายีพญาญี่บาร้องไห้” มาจนทุกวันนี้<ref>[http://www.vcharkarn.com/varticle/259 วิชาการ.คอม - จามเทวี]</ref> ต่อมาพระยายีพญาญี่บาจึงหนีมาอยู่กับพระยาเบิกเจ้าเมืองลำปาง(เขลางค์) ผู้เป็นโอรส เวลาล่วงไป 14 ปี พระยาเบิกทรงช้างชื่อ ปานแสนพล ยกทัพไปหมายจะตีเมืองลำพูนคืนให้พระบิดา พระยามังรายให้เจ้าขุนสงครามทรงช้างชื่อแก้วไชยมงคลออกรับศึก ทั้งสองได้ทำยุทธหัตถีกัน ที่บ้านขัวมุงขุนช้าง ใกล้[[เวียงกุมกาม|เมืองกุมกาม]] พระยาเบิกถูกหอกแทงบาดเจ็บ และตีฝ่าวงล้องออกมาได้ จึงมาตั้งรับอยู่ที่ตำบลแม่ตาล เขตเมืองลำปาง ได้สู้รบกันเป็นสามารถผล ที่สุดทัพลำปางแพ้ยับเยิน เจ้าขุนสงครามจับกุมตัวพระยาเบิกแม่ทัพได้ และปลงพระชนม์เสียที่นี่ ดวงวิญญาณอันกล้าหาญเปี่ยมไปด้วยกตัญญูเวทิคุณนี้ จึงได้รับพระราชทานนามว่า "เจ้าพ่อขุนตาน" <ref>พงษาวดารโยนก ฉบับหอสมุดแห่งชาติ</ref>
 
ศาลเจ้าพ่อขุนตานสร้างขึ้นเป็นที่สักการะแด่ดวงวิญญาณการสร้างวีรกรรม และความกตัญญูกตเวทิตาของพระยาเบิก โอรสของพระยายีบาพญาญี่บา แต่เดิมสร้างเป็นศาลเล็กๆ ต่อมามีการสร้างรูปหล่อเจ้าพ่อขุนตานและศาลขึ้นควบคู่กับศาลเดิม เพื่อให้ประชากรสักการะบูชา กราบไหว้ <ref>[http://www.guidescenter.com/message_board.php?msg_type=3&msg_id=820 พระประวัติเจ้าพ่อขุนตาน]</ref>
 
== อ้างอิง ==