ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารส้ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: kk:Ашудастар
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:dmn-สารส้มAlumCrystal.jpg|thumb|สารส้มก้อน]]
{{รอการตรวจสอบ}}
 
{{เก็บกวาด}}
'''สารส้ม''' (หรือ alum) เป็นทั้ง[[สารประกอบ]]และชั้นของสารประกอบ ที่มีส่วนประกอบของ [[โปแตสเซียม]] [[อลูมิเนียม]] [[ซัลเฟต]] ด้วยสูตรเคมีว่า [[potassium|K]][[aluminium|Al]]([[sulfate|SO<sub>4</sub>]])<sub>2</sub><sup>.</sup>12[[water|H<sub>2</sub>O]] และชั้นสารประกอบในชื่อสารส้มมีสูตรเคมีว่า ''AB''(SO<sub>4</sub>)<sub>2</sub><sup>.</sup>12H<sub>2</sub>O
[[ไฟล์:dmn-สารส้ม.jpg|thumb|สารส้ม]]
 
'''สารส้ม''' (หรือ Alum) มีสูตรว่า K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> Al<sub>2</sub>(SO<sub>4</sub>)<sub>3</sub>∙24H<sub>2</sub>O คือสารทำให้หดตัว (Astringent) หรือที่เรียกว่าเกลือเชิงซ้อน (ผลึกเกลือ) ของสารประกอบที่มีธาตุอะลูมิเนียมและซัลเฟตเป็นสารประกอบหลัก แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
== การใช้งาน ==
1.* สารส้มใช้แกว่งในบ่อเก็บน้ำเพื่อให้สิ่งสกปรกตกตะกอน
2.* สามารถใช้ในการกำจัดกลิ่นตัวโดยเฉพาะใต้วงแขน ดับกลิ่นได้ 100% และนานถึง 24 ชั่วโมง และสามารถใช้กำจัดกลิ่นเท้าได้
3.* ทำให้อาหารกรอบ นิยมใช้กับการดองผักเพื่อให้ผักดองมีความกรอบ
4.* ช่วยให้พริกขี้หนูดูสดใส เก็บไว้ได้หลายวัน โดยการนำพริกขี้หนูแช่ในน้ำสารส้มสักพัก แล้วนำมาผึ่งไว้ ก่อนทานก็ควรล้างพริกเสียก่อน
5.* ช่วยให้ข้าวเหนียวมีเมล็ดสวย โดยใช้สารส้มแกว่งในน้ำแช่ข้าวเหนียว แล้วแช่ไว้สักครู่ เปลี่ยนน้ำแช่ใหม่ เวลานึ่งแล้วข้าวจะมีเมล็ดสวย
6.* สารส้ม เป็นสารประกอบที่ใช้ในอุตสาหกรรมทำสีย้อม เนื่องจากเป็นสารประกอบที่มีไอออนของอะลูมิเนียม สามารถเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนกับสูตรโครงสร้างทางเคมีของสีและเส้นใยของพืช ทำให้สีติดเส้นใยได้ดีขึ้น สีจึงเข้มขึ้น
 
== อันตรายของสารส้ม ==
1.* สารส้มมีพิษในการกินค่อนข้างน้อยมาก อาการ คือ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว ซึม แต่ต้องกินในปริมาณสูงมากจึงเกิดอาการดังกล่าว
2.* พิษที่เกิดจากสารส้มและพบได้บ่อย คือ การสูดฝุ่นสารส้มในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจะทำให้เกิดอาการหอบหืดได้
 
== ประเภท ==
'''สารส้ม''' (หรือ Alum) มีสูตรว่า K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> Al<sub>2</sub>(SO<sub>4</sub>)<sub>3</sub>∙24H<sub>2</sub>O คือเป็น[[สารทำให้หดตัว]] (Astringentastringent) หรือที่เรียกว่าเกลือเชิงซ้อน (ผลึกเกลือ) ของสารประกอบที่มีธาตุอะลูมิเนียมและซัลเฟตเป็นสารประกอบหลัก แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
* '''อะลูมิเนียมซัลเฟต''' มีลักษณะเป็นก้อนผงสีขาว
* '''โพแทสเซียมอะลัม''' มีลักษณะเป็นผลึกใสไม่มีสี
เส้น 15 ⟶ 29:
 
ไฮเดรตออฟโพรแสเซียมอะลูมิเนียมซัลเฟต
 
== สรรพคุณ ==
'''''ประโยชน์ของสารส้ม มีดังนี้'''''
 
1.สารส้มใช้แกว่งในบ่อเก็บน้ำเพื่อให้สิ่งสกปรกตกตะกอน
 
2.สามารถใช้ในการกำจัดกลิ่นตัวโดยเฉพาะใต้วงแขน ดับกลิ่นได้ 100% และนานถึง 24 ชั่วโมง และสามารถใช้กำจัดกลิ่นเท้าได้
 
3.ทำให้อาหารกรอบ นิยมใช้กับการดองผักเพื่อให้ผักดองมีความกรอบ
 
4.ช่วยให้พริกขี้หนูดูสดใส เก็บไว้ได้หลายวัน โดยการนำพริกขี้หนูแช่ในน้ำสารส้มสักพัก แล้วนำมาผึ่งไว้ ก่อนทานก็ควรล้างพริกเสียก่อน
 
5.ช่วยให้ข้าวเหนียวมีเมล็ดสวย โดยใช้สารส้มแกว่งในน้ำแช่ข้าวเหนียว แล้วแช่ไว้สักครู่ เปลี่ยนน้ำแช่ใหม่ เวลานึ่งแล้วข้าวจะมีเมล็ดสวย
 
6.สารส้ม เป็นสารประกอบที่ใช้ในอุตสาหกรรมทำสีย้อม เนื่องจากเป็นสารประกอบที่มีไอออนของอะลูมิเนียม สามารถเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนกับสูตรโครงสร้างทางเคมีของสีและเส้นใยของพืช ทำให้สีติดเส้นใยได้ดีขึ้น สีจึงเข้มขึ้น
 
 
'''''โทษของสารส้ม มีดังนี้'''''
 
1.สารส้มมีพิษในการกินค่อนข้างน้อยมาก อาการ คือ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว ซึม แต่ต้องกินในปริมาณสูงมากจึงเกิดอาการดังกล่าว
 
2.พิษที่เกิดจากสารส้มและพบได้บ่อย คือ การสูดฝุ่นสารส้มในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจะทำให้เกิดอาการหอบหืดได้
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สารส้ม"