ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์ตัวประกันโรงละครมอสโก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 9:
 
หัวหน้าคนร้ายบอกว่า พวกเขามาจากหน่วยฆ่าตัวตายของ "กองพลที่ 29"<ref name="chechens">[http://query.nytimes.com/gst/fullpage.html?res=9E0CE2D6123CF937A15753C1A9649C8B63&scp=6&sq=Nord+Ost&st=nyt Chechens Seize Moscow Theater, Taking as Many as 600 Hostages], ''[[The New York Times]]'', 24 October 2002</ref> และว่า พวกเขาไม่มีความบาดหมางกับชาวต่างชาติ (ราว 75 คน จาก 14 ประเทศ รวมทั้งออสเตรเลีย เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ ยูเครน สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา) และสัญญาจะปล่อยทุกคนที่แสดงพาสปอร์ตต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม นักเจรจารัสเซียปฏิเสธที่จะยอมรับข้อเสนอนี้ และยืนยันให้ทุกคนถูกปล่อยตัวพร้อมกัน โดยไม่มีการแบ่งแยกระหว่างชาวต่างชาติกับชาวรัสเซีย<ref>[http://www.moscowtimes.ru/stories/2007/10/22/002.html ''A Foreigner's Nightmare in Dubrovka''], ''[[The Moscow Times]]'', 22 October 2007</ref>
 
การสนทนาด้วยโทรศัพท์เคลื่อนที่ระหว่างตัวประกันที่ถูกจับอยู่ในโรงละครกับครอบครัว เปิดเผยว่า ผู้จับตะวประกันมีระเบิดมือ ทุ่นระเบิดและ[[ระเบิดแสวงเครื่อง]]ผูกรัดอยู่ตามร่างกาย และวางระเบิดเพิ่มไว้ทั่วโรงละคร ระเบิดส่วนใหญ่นี้ (รวมทั้งทั้งหมดที่นักรบหญิงสวม) ถูกพบภายหลังว่าเป็นของปลอมใช้ในทางทหาร<ref name="part1">[http://www.rferl.org/reports/corruptionwatch/2003/12/42-181203.asp The October 2002 Moscow Hostage-Taking Incident (Part 1)] by John B. Dunlop, [[Radio Free Europe]] Reports, 18 December 2003.</ref><ref>[http://www.hudson.org/index.cfm?fuseaction=publication_details&id=3538&pubType=HI_Opeds Slaughter in Beslan], [[Hudson Institute]], 23 November 2004</ref> ส่วนที่เหลือนั้นไม่มีตัวจุดระเบิดหรือถอดแบตเตอรีออกแล้ว<ref>{{ru icon}} [http://www.echo.msk.ru/programs/albac/55756/ Норд-Ост: 5 лет], [[Echo of Moscow]], 21 October 2007</ref> นักเจรจาและหน่วยรบพิเศษรัสเซียไม่อาจมั่นใจได้ในเวลานั้น แต่ก่อนหน้าการล้อม ขณะที่มีการเตรียมระเบิด เจ้าหน้าที่สำนักงานความมั่นคงแห่งชาติรัสเซีย (FSB) ผู้แทรกซึมเครือข่ายขนส่งเชเชนจีฮัดได้บ่อนทำลายอุปกรณ์หลายอย่างด้วยแบตเตอรีใช้หมด และตัวเร่งหรือดินเร่งที่ไม่พอสำหรับจุดระเบิด คนร้ายใช้ชื่อภาษาอาหรับในหมู่พวกเขาเอง และผู้ก่อการร้ายหญิงสวมเสื้อผ้าบุรกาแบบอาหรับ ซึ่งผิดปกติอย่างมากในเขตคอเคซัสเหนือ<ref name="dark">[http://news.bbc.co.uk/2/hi/europe/2565585.stm Moscow siege leaves dark memories], [[BBC News]], 16 December 2002</ref>
มีการใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อกับตัวประกัน ซึ่งได้เล่าว่ามีผู้หญิงชาวเชเชนที่แต่งกายด้วยเสื้อผ้าแบบอาหรับที่นิยมกันในแถบคอเคซัสเหนือ ส่วนผู้ชายพูด[[ภาษาอาหรับ]] และมีระเบิดพันตามร่างกายอีกทั้งยังติดระเบิดใว้ตามอาคารที่เป็นที่กักตัวประกัน (ซึ่งในภายหลังพบว่าเป็นระเบิดปลอม) ทางส่วนผู้นำชาวเชเชน - อิสลามที่นิยมรัซเซียได้ประณามการจับตัวประกันในครั้งนี้ และโฆษก กบฏเชเชนเองก็ประณามการทำร้ายพลเรือนด้วยแต่บอกว่าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องผู้ก่อการในครั้งนี้ และหลังจากการควบคุมตัวประกันได้ไม่นาน ก็ได้มีการปล่อยผู้หญิงท้อง เด็ก ชาวมุสลิม และ ชาวต่างชาติบางส่วนที่มีปัญหาทางสุขภาพประมาณ 150 - 200 คน ให้เป็นอิสระ แต่ก็ยังมีการยิงผู้หญิง 1 คน ที่ชาวเชเชนเชื่อว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของหน่วยรักษาความปลอดภัยแห่งสหพันธ์รัสเซีย หรือ Federal Security Service (FSB) ที่มีชื่อว่า ออลกา โรมานอว่า เพราะเธอได้พูดปลุกเร้าจิตใจให้ตัวประกันลุกขึ้นมาต่อต้านชาวเชเชนเหล่านี้
 
มีการใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อกับตัวประกัน ซึ่งได้เล่าว่ามีผู้หญิงชาวเชเชนที่แต่งกายด้วยเสื้อผ้าแบบอาหรับที่นิยมกันในแถบคอเคซัสเหนือ ส่วนผู้ชายพูด[[ภาษาอาหรับ]] และมีระเบิดพันตามร่างกายอีกทั้งยังติดระเบิดใว้ตามอาคารที่เป็นที่กักตัวประกัน (ซึ่งในภายหลังพบว่าเป็นระเบิดปลอม) ทางส่วนผู้นำชาวเชเชน - อิสลามที่นิยมรัซเซียได้ประณามการจับตัวประกันในครั้งนี้ และโฆษก กบฏเชเชนเองก็ประณามการทำร้ายพลเรือนด้วยแต่บอกว่าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องผู้ก่อการในครั้งนี้ และหลังจากการควบคุมตัวประกันได้ไม่นาน ก็ได้มีการปล่อยผู้หญิงท้อง เด็ก ชาวมุสลิม และ ชาวต่างชาติบางส่วนที่มีปัญหาทางสุขภาพประมาณ 150 - 200 คน ให้เป็นอิสระ แต่ก็ยังมีการยิงผู้หญิง 1 คน ที่ชาวเชเชนเชื่อว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของหน่วยรักษาความปลอดภัยแห่งสหพันธ์รัสเซีย หรือ Federal Security Service (FSB) ที่มีชื่อว่า ออลกา โรมานอว่า เพราะเธอได้พูดปลุกเร้าจิตใจให้ตัวประกันลุกขึ้นมาต่อต้านชาวเชเชนเหล่านี้
 
ในวันถัดมาวันที่ [[24 ตุลาคม]] การจับตัวประกันครั้งนี้เป็นข่าวโด่งดังไปทั้งโลก ทำให้[[วลาดิเมียร์ ปูติน|ประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน]] ของ[[รัสเซีย]]ต้องยกเลิกการเดินทางไปประชุมกับ[[จอร์จ ดับเบิลยู บุช|ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุช]] และมีคนดังๆ อย่างเช่น [[มิคาอิล กอร์บาชอฟ|อดีตประธานาธิบดีมิคาอิล กอร์บาชอฟ]] ของ[[สหภาพโซเวียต|อดีตสหภาพโซเวียต]]มาช่วยเจรจา มีข้อเสนอมากมาย เช่น ให้ผู้เข้าจับตัวประกันลี้ภัยไปอยู่ในประเทศที่ 3 แต่ก็ไม่มีการตอบรับ แต่ก็มีการปล่อยตัวประกันออกมาเป็นระยะๆ พร้อมกับมีการนำอาหาร และ ยา โดยแพทย์ และ องค์การกาชาดสากลเข้าไปให้ตัวประกัน ซึ่งพวกเขาได้บอกว่าตัวประกันอยู่ในสภาพค่อนข้างดี ไม่มีการทำร้ายตัวประกันแต่ก็มี 2 - 3 คน ที่ตกใจกลัวอย่างมาก ในช่วงพลบค่ำของคืนวันนั้นก็มีการยิงใส่ผู้ชายคนหนึ่งที่ชื่อ เจเนดี วลากค์ เพราะเขาวิ่งเขาไปในอาคารโรงละครโดยอ้างว่ามีลูกชายติดเป็นตัวประกัน ในนั้น และราวเที่ยงคืนก็มีตัวประกันชายที่วิ่งเข้าไปหาผู้หญิงชาวเชเชนที่มีระเบิด แต่ผู้ชายชาวเชเชนยิงปืนเข้าใส่กระสุนพลาดไปโดนตัวประกันหญิง 2 คน ก็คือ ทามาร่า สตาร์โคว่า และ พาร์เวล ซาร์คารอฟ บาดเจ็บสาหัสจนต้องถูกนำออกมารักษาตัวข้างนอก ต่อมาในคืนวันที่ [[25 ตุลาคม]] มีข่าวมาว่าจะเริ่มการเจรจาอย่างจริงจังแต่ก็มีข่าวรั่วมาว่าจะมีการบุกชิงตัวประกันในเช้ามืดที่จะมาถึง เมื่อเวลา 05.00 น. ของวันที่ [[26 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 2002]] เริ่มมีการปั๊มแก็สเข้ามาทางท่อระบายอากาศของตัวอาคารของโรงละคร ตัวประกันก็เริ่มสังเกตเห็นควันและคิดว่ามีการเกิดเพลิงใหม้ มีการโทรศัพท์ออกมาจากหญิงสาวคนหนึ่งชื่อ แอนนา แอนเดียนอว่า ซึ่งเป็นนักข่าวโทรมายังสถานีวิทยุ Echo of Moscow ว่าทั้งตัวประกันและชาวเชเชนในโรงละครทุกคนไม่อยากตายและขวัญเสียเป็นอย่างมาก มีการยิงออกมาจากอาคาร ใส่ที่ตั้งของทหารรัซเซียข้างนอก แต่ไม่ได้มีการระเบิด หรือยิงตัวประกันแต่อย่างใด ประมาณ 30 นาทีหลังจากการปั๊มแก็สที่คาดกันว่าเป็น 3-methyl fentanyl หรือ Kolokol-1 (ซึ่งทางการรัสเซียไม่ได้ออกมาแถลงอย่างแน่ชัดว่าเป็นชนิดใด) และก็เกิดการยิงกันอีกราว 1 ชั่วโมง ชาวเชนที่ถูกยิงมีทั้งหญิงและชายแต่ไม่ทราบตัวเลขที่แน่นอน สุดท้ายมีชาวเชเชนเสียชีวิต 33 คน ตัวประกันเสียชีวิต 129 คน (มีเพียงคนเดียวที่เสียชีวิตจากการถูกยิง ที่เหลือเสียชีวิตจากแก็สและการช่วยเหลือที่ล่าช้า)