ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาร (ศาสนาพุทธ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 2:
'''มาร''' ({{lang-en|Mara}}) มาจาก[[ภาษาบาลี]]ว่า "มรฺ" แปลว่า "ตาย" มารจึงแปลว่า "ผู้ให้ตาย"<ref name="คำแปล">[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=302610 ความหมายของ "มาร"] {{th}}</ref> ในความหมายตาม[[พจนานุกรม]] ฉบับ[[ราชบัณฑิตยสถาน]] จะหมายถึง [[เทวดา]]จําพวกหนึ่ง มีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทําบุญ ,[[ยักษ์]] ,ผู้ฆ่า ,ผู้ทำลาย ,ใน[[พระพุทธศาสนา]]หมายถึง ผู้กีดกันบุญกุศล มี 5 อย่าง เรียกว่า "เบญจพิธมาร" คือ ขันธมาร กิเลสมาร อภิสังขารมาร มัจจุมาร และเทวบุตรมาร โดยปริยายหมายถึงผู้ที่เป็นอุปสรรคขัดขวาง<ref>[http://guru.sanook.com/dictionary/dict_royals/?source_page=2&source_location=1&spell=%C1%D2%C3&x=0&y=0 คำว่า "มาร" ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน] {{th}}</ref>
 
== ประเภทของมาร ==
ในพระพุทธศาสนาได้แบ่งมารออกเป็น 5 ประเภท<ref>[http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=aragorn&month=08-2005&date=29&group=4&gblog=9 เรื่องของมารในพระพุทธศาสนา] {{th}}</ref> ==ได้แก่
ในพระพุทธศาสนาได้แบ่งมารออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่
# '''กิเลสมาร''' คือ กิเลสซึ่งทำให้เรามีความพระพฤติ และนิสัยไม่ดีต่างๆ ในแง่ของมารหมายถึง กิเลสที่คอยขัดขวางไม่ให้เราทำความดี
# '''ขันธมาร''' คือ ร่างกายและจิตใจของเรา ซึ่งบกพร่องแล้วเป็นมารผลาญตัวเอง ในแง่ของมารหมายถึง ขันธ์ที่คอยกีดขวางการทำความดี เช่น ต้องการฟังธรรมะ แต่หูหนวก ไม่สามารถฟังธรรมได้ เป็นต้น