ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาลโยค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ยังไง และทำไมถึงเกิดสำคัญขึ้นเพราะราชบัณฑิตฯ ให้ความหมาย?
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
{{กาลโยคปีนี้}}
 
'''กาลโยค''' พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยามว่า "การกำหนด วัน ยาม ฤกษ์ ราศี ดิถี ของแต่ละปี เป็น ธงชัย อธิบดี อุบาทว์ โลกาวินาศ" จากความหมายดังกล่าว ทำให้กาลโยคมีบทบาทสำคัญในการหาฤกษ์ยามทำการมงคล{{โปรดเรียบเรียงใหม่}}
 
ในปฏิทินไทย กาลโยคคือตารางที่บ่งบอกให้ทราบว่าช่วงเวลาใดดี ช่วงเวลาใดร้าย เพื่อประกอบการพิจารณาหาฤกษ์กระทำการมงคล เช่น เปิดห้างร้าน หว่านข้าวลงในนา สถาปนายศศักดิ์ ฯลฯ กาลโยคประกอบด้วยสี่ส่วน คือ ธงชัย (บางที่เขียน ธงไชย) อธิบดี อุบาทว์ โลกาวินาศ (บางที่เขียนโลกาวินาสน์) และสี่ส่วนเหล่านี้จะนำไปประกอบกับช่วงเวลา 5 ช่วง ได้แก่ [[วัน]] [[ยาม]] [[ฤกษ์]] [[ราศี]] [[ดิถี]] เพื่อใช้พิจารณาต่อไป
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กาลโยค"