ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอกอัครสมณทูต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีใครเรียกโดยย่อแบบนั้น เพราะสมณทูตมีหลายชั้น / ทางการทูต → ทางทูต
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Giovanni d’Aniello.jpg|thumb|[[อาร์ชบิชอป]] [[โจวันนี ดานีเอลโล]] (Giovanni d’Aniello) เอกอัครสมณทูตวาติกันประจำประเทศไทย กัมพูชา พม่า และลาวคนปัจจุบัน<ref>[http://haab.catholic.or.th/photo/ambassador/jovanne.html แต่งตั้งสมณทูตองค์ใหม่]</ref>]]
 
'''เอกอัครสมณทูต''' <ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]</ref> ({{lang-en|nuncio; apostolic nuncio}}) หรือเรียกโดยย่อว่า'''สมณทูต''' เป็นตำแหน่งตาม[[ลำดับชั้นทางการทางทูต]]ใน[[ศาสนจักร]] คำว่า "nuncio" มาจากคำว่า Nuntiusnuntius ใน[[ภาษาละติน]]โบราณ ซึ่งแปลว่า "ผู้แทนทางการทางทูต" (envoy) ซึ่งแสดงถึงฐานันดรศักดิ์ในตำแหน่งทูตตามโครงสร้างองค์กร[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]]
 
== ประวัติ ==
'''เอกอัครสมณทูต''' (Papal Nuncio; Apostolic Nuncio) ในทางการทางทูตคือผู้แทนถาวร (หัวหน้าคณะทูต) ของ[[สันตะสำนัก]]ประจำ[[รัฐเอกราช]]หรือ[[องค์การระหว่างประเทศ]] (เช่น [[สันนิบาตอาหรับ]]) มีลำดับชั้นเสมอ[[เอกอัครราชทูต|เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม]] ส่วนทาง[[ศาสนจักร]]สมณทูตจะได้รับสมณศักดิ์เป็น[[มุขนายกเกียรตินาม|อัครมุขนายกเกียรตินาม]]ด้วย นอกจากนี้ตาม[[อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูต]]ปี 1961 ยังถือว่าเอกอัครสมณทูตมีสถานะเป็นเอกอัครราชทูตเช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ แต่อนุสัญญาดังกล่าวก็อนุญาตหากบางรัฐจะยกสถานะให้สูงกว่าเอกอัครราชทูตอื่นๆ ในประเทศและมอบตำแหน่งประธานคณะทูตานุทูตแก่สมณทูตโดยมิต้องคำนึงถึงความอาวุโส<ref>{{cite | author=United Nations Conference on Diplomatic Intercourse and Immunities | title=Vienna Convention on Diplomatic Relations, Article 16 |publisher=United Nations |date=1961-04-18 }}</ref>
 
นอกจากนี้สมณทูตยังต้องเป็นผู้ประสานงานระหว่าง[[สันตะสำนัก]]กับคณะมุขนายกคาทอลิกในชาติหรือภูมิภาคที่ตนประจำการ คณะมุขนายกระดับชาติหรือภูมิภาคดังกล่าวตามปกติจะมี[[สภาประมุขบาทหลวง]]ปกครองอยู่ ซึ่งมี[[มุขนายก]]หรือ[[อัครมุขนายก]]ที่มีสมณศักดิ์สูงสุดในประเทศนั้นเป็นประธาน
 
== เอกอัครสมณทูตในประเทศไทย ==
นับตั้งแต่ประเทศไทยสถาปนาความสังพันธ์ทางการทางทูตกับ[[นครรัฐวาติกัน]]ก็มีการแลกเปลี่ยนเอกอัครราชทูต โดยมีอาร์ชบิชอป ฌ็อง ฌาโด (Archbishop Jean Jadot) เป็นเอกอัครสมณูตวาติกันท่านแรก (ขณะนั้นยังเรียกว่าเอกอัคราชทูตวาติกัน-Pro-Nuncio) มาประจำประเทศไทยเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2512<ref>[http://haab.catholic.or.th/photo/rama9.html สมณทูตวาติกัน]</ref> โดยต้องรับผิดชอบรวมถึงมาเลเซียและลาวด้วย<ref>[http://haab.catholic.or.th/photo/ambassador/jadat.html พระอัครสังฆราช ยัง ยาโดต์]</ref>
 
นับแต่นั้นมาจนปัจจุบัน ประเทศไทยมีเอกอัครสมณทูตมาประจำแล้วทั้งสิ้น 9 ท่าน<ref>[http://haab.catholic.or.th/photo/ambassador พระสมณทูตประจำประเทศไทย]</ref> ได้แก่