ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าหน้าที่การทูต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
 
== ศัพทมูลวิทยา ==
ลำดับชั้นของเจ้าหน้าที่การนักการทูต ได้แก่มีอาทิ [[เอกอัครราชทูต]] ผู้แทนทางการทูต [[อัครราชทูต]] และ[[อุปทูต]] ล้วนกำหนดขึ้นโดย[[กฎหมายระหว่างประเทศ]] ชื่อว่า [[อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต]] ค.ศ. 1961
 
ตามธรรมเนียมการทูตสากล ลำดับชั้นของนักการทูตเป็นดังนี้
เจ้าหน้าที่การทูตสามารถเปรียบเทียบได้ว่ามีความแตกต่างจาก[[กงสุล]] หรือ [[ผู้ช่วยทูต]] ซึ่งเป็นตัวแทนของรัฐในด้านการบริหารหลายด้าน แต่ไม่มีหน้าที่ทางการเมืองเช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่การทูต
- [[เอกอัครราชทูต]] (Ambassador)
- อัครราชทูต (Minister)*
- อัครราชทูตที่ปรึกษา (Minister-Counsellor)
- ที่ปรึกษา (Counsellor)
- เลขานุการเอก (First Secretary)
- เลขานุการโท (Second Secretary)
- เลขานุการตรี (Third Secretary)
- นายเวร หรือผู้ช่วยเลขานุการ (Attache)
 
พึงสังเกตว่า คำว่า Minister ในภาษาอังกฤษนั้นมีได้หลายความหมาย ความหมายที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุดคือ รัฐมนตรี แต่คำนี้ยังสามารถแปลว่านักบวชประเภทหนึ่งในศาสนาคริสต์บางนิกาย หรือเป็นระดับตำแหน่งทางการทูตที่รองลงมาจากเอกอัครราชทูตก็ได้ ในกรณีหลังนี้ ศัพท์บัญญัติภาษาไทยกำหนดให้เรียกว่า อัครราชทูต ซึ่งเป็นข้าราชการประจำ มิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกคณะรัฐบาลแต่อย่างใด ตำแหน่งนี้ตามระบบราชการไทย เทียบได้กับรองอธิบดี
 
ตำแหน่ง Counsellor ซึ่งศัพท์ทางการทูตภาษาไทยกำหนดให้เรียกว่า ที่ปรึกษา นั้น เป็นชื่อตำแหน่งทางการทูตที่เรียกเช่นนั้นเอง ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นข้าราชการประจำที่ทำงานปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา มิได้มีสถานะเป็นผู้ให้คำปรึกษาแนะนำหรือเป็นตำแหน่งกิตติมศักดิ์หรือตำแหน่งลอยแต่ประการใด ตามระบบราชการไทยพอเทียบได้กับข้าราชการระดับ 7 เดิม หรือนักการทูตชำนาญการในปัจจุบันนี้ ซึ่งต่ำกว่าระดับรองผู้อำนวยการกองขั้นหนึ่ง
 
เจ้าหน้าที่การนักการทูตสามารถเปรียบเทียบได้ว่ามีความแตกต่างจาก[[กงสุล]] หรือ [[ผู้ช่วยทูต]] ซึ่งเป็นตัวแทนของรัฐในด้านการบริหารหลายด้าน แต่ไม่มีหน้าที่ทางการเมืองเช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่การนักการทูต
 
== หน้าที่ ==