ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผลึก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต เพิ่ม: be:Крышталь, be-x-old:Крышталь
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
[[ไฟล์:Bismuth_Crystal.jpg|thumb|300px|[[Bismuth]] Crystal]]
 
ขณะที่กระบวนการเย็นลงการเกิดผลึกก็ยังมีอยู่ แต่เมื่อของเหลวเย็นจนแข็งสถานะการเกิดผลึกจะไม่มีเรียกว่า นอนคริสตัลลีนสเตต (noncrystalline state) อธิบายได้ว่าการที่ของเหลวเย็นจนแข็งอะตอมของของเหลวไม่สามารถเคลื่อนไหวเพื่อการจัดเรียงเข้า แลตทิชไซต์ ตะกอนที่ได้จะไม่เป็นผลึกเรียกว่าวัสดุที่ไม่ใช่ผลึก (noncrystalline material) ซึ่งโครงสร้างของมันจะไม่เป็น[[ลอง-เรนจ์ออร์เดอร์ระเบียบพิสัยยาว]] (long-range order) และเรียกว่าเป็นวัสดุ อสัณฐาน (amorphous), [[คล้ายแก้ว]] (vitreous),หรือ [[กระจก]] หรืออาจเรียกอีกอย่างว่าเป็น [[ของแข็งอสัณฐาน]] (amorphous solid) ถึงแม้จะมีความแตกต่างกันระหว่างของแข็งและแก้ว แต่ก็เป็นที่น่าสังเกตอย่างมากว่ากระบวนการเกิดแก้วจะไม่ปล่อย [[ความร้อนแฝงของการหลอม]] (latent heat of fusion) อันนี้เป็นเหตุผลอันหนึ่งที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์พิจารณาวัสดุแก้ว (glassy materials) ว่าเป็น ของเหลวที่มี [[ความหนืด]] (viscosity) มากกว่าเป็นของแข็ง ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ใน [[แก้ว]] (glass)
 
[[ไฟล์:Insulincrystals.jpg|thumb|300px|right|[[Insulin]]crystals]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ผลึก"