ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จีออยด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
'''จีออยด์''' ({{lang-en|geoid}}) คือ [[ผิวสมศักย์]] ([[:en:equipotential surface|ผิวสมศักย์]]) ซึ่งโดยประมาณแล้วเป็นผิวที่ทับกันสนิทกับผิวเฉลี่ยของมหาสมุทร และมักจะใช้ในการแทน[[สัณฐานของโลก]] ([[:en:figure of the Earth|สัณฐานของโลก]]) [[คาร์ล ฟรีดริช เกาส์|เกาส์]] ได้กล่าวว่า จีออยด์นี้คือ "รูปทรงทางคณิตศาสตร์ของโลก" ซึ่งจริงๆ แล้วก็คือรูปทรงของสนาม[[แรงดึงดูด]]ของโลกนั่นเอง ผิวสมศักย์นี้ โดยเฉลี่ยแล้วจะทับกันสนิทได้กับ[[ระดับน้ำทะเล]]เฉลี่ย
 
ผิวจีออยด์ โดยปกติแล้วจะมีรูปร่างที่ ไม่สม่ำเสมอเท่ากับ รูปทรงรีโดยทั่วไปที่ใช้ประมาณรูปทรงของโลก แต่จะมีความสม่ำเสมอมากกว่าผิวจริงๆ ของโลก ในขณะที่ผิวจริงๆ ของโลกนั้นมีความเบี่ยงเบนอยู่ระหว่าง +8,000 เมตร ([[ยอดเขาเอเวอเรสต์]]) และ −11,000 เมตร ([[:en:Mariana Trench|ท้องใต้ทะเลมารีอานา]] ([[:en:Mariana Trench]])) ผิวจีออยด์จะเบี่ยงเบนจากผิวทรงรีอ้างอิงเพียง ±100 เมตร
'''จีออยด์''' (geoid) คือ [[ผิวสมศักย์]] ([[:en:equipotential surface]]) ซึ่งโดยประมาณแล้วเป็นผิวที่ทับกันสนิทกับผิวเฉลี่ยของมหาสมุทร และมักจะใช้ในการแทน[[สัณฐานของโลก]] ([[:en:figure of the Earth]]) [[คาร์ล ฟรีดริช เกาส์|เกาส์]] ได้กล่าวว่า จีออยด์นี้คือ "รูปทรงทางคณิตศาสตร์ของโลก" ซึ่งจริงๆ แล้วก็คือรูปทรงของสนาม[[แรงดึงดูด]]ของโลกนั่นเอง ผิวสมศักย์นี้ โดยเฉลี่ยแล้วจะทับกันสนิทได้กับ[[ระดับน้ำทะเล]]เฉลี่ย
 
เนื่องจากแนวแรงโน้มถ่วงของโลก ตั้งฉากกับผิวจีออยด์ (ซึ่งเป็นผิวสมศักย์) ทุกๆ ที่ ดังนั้นผิวน้ำทะเลตามธรรมชาติจะมีผิวหน้าเป็นไปตามจีออยด์ หากไม่ถูกปิดกั้น หรือล้อมด้วยพื้นดิน ซึ่งเป็นไปไม่ได้ในความเป็นจริง อย่างไรก็ตามนักวิชาการทางสัณฐานของโลก ได้ใช้[[:en:spirit leveling|เทคนิคในปรับระดับผิวหน้าให้ตรง]] ([[:en:spirit leveling]]) สร้างผิวในจินตนาการเพื่อใช้ในการหาระดับความสูงของพื้นผิวทวีป
ผิวจีออยด์ โดยปกติแล้วจะมีรูปร่างที่ ไม่สม่ำเสมอเท่ากับ รูปทรงรีโดยทั่วไปที่ใช้ประมาณรูปทรงของโลก แต่จะมีความสม่ำเสมอมากกว่าผิวจริงๆ ของโลก ในขณะที่ผิวจริงๆ ของโลกนั้นมีความเบี่ยงเบนอยู่ระหว่าง +8,000 เมตร ([[ยอดเขาเอเวอเรสต์]]) และ −11,000 เมตร ([[ท้องใต้ทะเลมารีอานา]] ([[:en:Mariana Trench]])) ผิวจีออยด์จะเบี่ยงเบนจากผิวทรงรีอ้างอิงเพียง ±100 เมตร
 
เนื่องจากแนวแรงโน้มถ่วงของโลก ตั้งฉากกับผิวจีออยด์ (ซึ่งเป็นผิวสมศักย์) ทุกๆ ที่ ดังนั้นผิวน้ำทะเลตามธรรมชาติจะมีผิวหน้าเป็นไปตามจีออยด์ หากไม่ถูกปิดกั้น หรือล้อมด้วยพื้นดิน ซึ่งเป็นไปไม่ได้ในความเป็นจริง อย่างไรก็ตามนักวิชาการทางสัณฐานของโลก ได้ใช้[[เทคนิคในปรับระดับผิวหน้าให้ตรง]] ([[:en:spirit leveling]]) สร้างผิวในจินตนาการเพื่อใช้ในการหาระดับความสูงของพื้นผิวทวีป
 
ในการเดินทางทางทะเล เราจะไม่สังเกตเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงระดับของจีออยด์ ซึ่งในบริเวณเฉพาะที่นั้นจะขนานกับแนวขอบฟ้า และ ตั้งฉากกับแนวดิ่งเสมอ แต่ระดับความสูงที่แสดงในตัวรับ [[GPS]] จะแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงความสูง โดยเทียบกับทรงรีอ้างอิง ที่มีจุดศูนย์กลางวงโคจรของดาวเทียม GPS เป็นจุดศูนย์กลาง ซึ่งก็คือจุดเดียวกับ[[จุดศูนย์กลางมวล]]ของโลก
เส้น 12 ⟶ 11:
== แบบจำลองฮาร์มอนิกเชิงทรงกลม ==
[[ไฟล์:Geoids sm.jpg|thumb|right|รูปทรงของจีออยด์ใช้ระดับศักย์ของแรงดึงดูดของโลก]]
แบบจำลองคณิตศาสตร์[[ฮาร์มอนิกเชิงทรงกลม]] ([[:en:spherical harmonic|ฮาร์มอนิกเชิงทรงกลม]]) นั้นนิยมใช้ในการประมาณรูปทรงของจีออยด์ สัมประสิทธิ์ในการประมาณที่ดีที่สุดในปัจจุบันคือ EGM96 (Earth Gravity Model 1996) กำหนดขึ้นโดยโครงการความร่วมมือนานาชาติ ริเริ่มโดย NIMA ประกอบด้วยชุดสัมประสิทธิ์ของแต่ละองศาของมุม 360 องศา ซึ่งใช้ระบุรูปร่างของจีออยด์ในรายละเอียดระดับ 55 กิโลเมตร
 
และมีรายละเอียดของแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ในรูปของ[[อนุกรมลาปลัส]] ดังต่อไปนี้
เส้น 30 ⟶ 29:
[[หมวดหมู่:ธรณีฟิสิกส์]]
[[หมวดหมู่:ความโน้มถ่วง]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}
 
[[ar:مجسم أرضي]]