ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แมงคีมยีราฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33:
แมงคีมยีราฟพบกระจายพันธุ์ใน[[ป่าเบญจพรรณ]]และ[[ป่าดิบ|ป่าดิบแล้ง]]ของหลาย[[ประเทศ]]ใน[[ทวีปเอเชีย]]จนถึง[[อินโดนีเซีย]] ใน[[ประเทศไทย]]พบได้ใน[[ป่า]]ทาง[[ภาคเหนือ]]และ[[ภาคตะวันออก]] (มีทั้งหมด 9 [[ชนิดย่อย]]-ดูในตาราง)<ref>[http://www.naturalworlds.org/scarabaeidae/manual/giraffa/Prosopocoilus_giraffa_breeding_1.htm Family Scarabaeidae - The Breeding/Rearing of ''Prosopocoilus giraffa'' {{en}}]</ref>
 
เป็นแมลงที่หากินในเวลา[[กลางคืน]] โดยกิน[[ยางไม้]]ตาม[[เปลือกไม้]]ของ[[ต้นไม้]]ใหญ่ในป่า ตัวผู้มีพฤติกรรมใช้ขากรรไกรที่ยาวใหญ่นั้นต่อสู้เพื่อป้องกันตัว และสู้กับตัวผู้ตัวอื่น ๆ เพื่อแย่งตัวเมียเพื่อ[[ผสมพันธุ์]] หรือแม้แต่สู้กับด้วงในวงศ์ [[Dynastinae]] ที่ใช้เขาเพื่อการต่อสู้ได้ด้วยเช่นกัน<ref>[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=61133 “ด้วงคีมยีราฟ” นักเลงกล้ามใหญ่ตัวจริงมาแล้ว จาก[[โอเคเนชั่น]]]</ref>พิสุทธิ์ เอกอำนวย, คู่มือคนรักแมลง 2 การเลี้ยงด้วง ([[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2552]]) หน้า 108 ISBN 987-974-660-832-9 </ref>
 
ในระยะที่เป็นตัว[[หนอน]] อายุการเป็นตัวหนอนของแมงคีมยีราฟจะแตกต่างออกไปตาม[[เพศ]] ตัวผู้จะมีอายุราว 9 เดือน ขณะที่ตัวเมียมีอายุสั้นก่าคือ 4-7 เดือน และตัวหนอนสามารถส่ง[[เสียง]]ขู่ผู้รุกรานได้ด้วย ด้วยการยกขาคู่หลังตั้งขึ้นให้ด้านข้างซึ่งเป็นแผ่นแข็งเสียดสีกับขาคู่กลางไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งทำให้เกิดการสั่นจนมีเสียงพอรับรู้ได้ <ref>
สำหรับสถานะในประเทศไทย เป็นแมลงที่หาได้ยากใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากการถูกจับไปเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]และ[[สตัฟฟ์]]เพื่อการสะสม และการทำลายป่าที่เป็นถิ่นที่อยู่อาศัย ทำให้แมงคีมยีราฟถูกจัดเป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]]ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535]] และเคยมีภาพปรากฏลงใน[[สลากกินแบ่งรัฐบาล]]และ[[แสตมป์]]ด้วย<ref>[http://www.pantipmarket.com/mall/poohlover/?node=products&id=19360 แสตมป์ ชุด แมลง ปีพ.ศ.2544 ด้วงกว่างดาว ,ด้วงดินขอบทองแดง,ด้วงคีมยีราฟ,ด้วงดินปีกแผ่น]</ref><ref>[http://lotteryinthailand.wordpress.com/2011/06/01/1-june-2011/ ล็อตเตอรี 1 มิถุนายน 2554 ภาพแมลงขาข้อ ด้วงคีมยีราฟ (1 June 2011)]</ref>แต่ขณะนี้ได้มีความพยายามจากภาคเอกชนในการเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงแล้ว<ref>[http://stag01.exteen.com/20100225/entry-3 ผลการเพาะด้วงคีมยีราฟ]</ref> ซึ่งแมงคีมยีราฟจะวางไข่ไว้ในไม้ผุเท่านั้น โดยจะไม่วางไข่ไว้ใน[[ดิน]]เหมือนด้วงในวงศ์ Dynastinae เพราะตัว[[หนอน]]กินอาหารต่างกัน โดยจะกินไม้ผุและ[[เห็ด]][[รา]]ที่ติดมากับไม้นั้นด้วย<ref>พิสุทธิ์ เอกอำนวย, คู่มือคนรักแมลง 2 การเลี้ยงด้วง([[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2552]]) หน้า 86 ISBN 987-974-660-832-9 </ref>
 
สำหรับสถานะในประเทศไทย เป็นแมลงที่หาได้ยากใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากการถูกจับไปเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]และ[[สตัฟฟ์]]เพื่อการสะสม และการทำลายป่าที่เป็นถิ่นที่อยู่อาศัย ทำให้แมงคีมยีราฟถูกจัดเป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]]ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535]] และเคยมีภาพปรากฏลงใน[[สลากกินแบ่งรัฐบาล]]และ[[แสตมป์]]ด้วย<ref>[http://www.pantipmarket.com/mall/poohlover/?node=products&id=19360 แสตมป์ ชุด แมลง ปีพ.ศ.2544 ด้วงกว่างดาว ,ด้วงดินขอบทองแดง,ด้วงคีมยีราฟ,ด้วงดินปีกแผ่น]</ref><ref>[http://lotteryinthailand.wordpress.com/2011/06/01/1-june-2011/ ล็อตเตอรี 1 มิถุนายน 2554 ภาพแมลงขาข้อ ด้วงคีมยีราฟ (1 June 2011)]</ref>แต่ขณะนี้ได้มีความพยายามจากภาคเอกชนในการเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงแล้ว<ref>[http://stag01.exteen.com/20100225/entry-3 ผลการเพาะด้วงคีมยีราฟ]</ref> ซึ่งแมงคีมยีราฟจะวางไข่ไว้ในไม้ผุเท่านั้น โดยจะไม่วางไข่ไว้ใน[[ดิน]]เหมือนด้วงในวงศ์ Dynastinae เพราะตัว[[หนอน]]กินอาหารต่างกัน โดยจะกินไม้ผุและ[[เห็ด]][[รา]]ที่ติดมากับไม้นั้นด้วย<ref>พิสุทธิ์ เอกอำนวย, คู่มือคนรักแมลง 2 การเลี้ยงด้วง ([[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2552]]) หน้า 86 ISBN 987-974-660-832-9 </ref>
 
==อ้างอิง==