ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์)''' (30 เมษายน พ.ศ. 2428 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2515) เป็นอาจารย์[[คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]] และเป็นบุตรเขยของ[[วูดโรว์ วิลสัน]] [[ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา]]
'''พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์)''' (30 เมษายน พ.ศ. 2428 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2515) จบการศึกษาด้านกฎหมายจาก[[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]] ต่อมาได้เดินทางมายังประเทศไทย และดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตสหรัฐประจำ[[สยาม]] เมื่อ พ.ศ. 2468 ต่อมาได้เดินทางกลับสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2475 และได้รับแต่งตั้งจากประธานาธิบดี[[แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์]] เป็นผู้ช่วยรัฐมนตรีต่างประเทศ แต่งตั้งเป็นข้าหลวงใหญ่สหรัฐอเมริกาใน[[ฟิลิปปินส์]]ในปี พ.ศ. 2482 และดำรงตำแหน่งผู้แทนของสหรัฐ และประธานใน[[คณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติ]] ในปี พ.ศ. 2490 <ref name="williams.edu"/>[[ไฟล์:Francis Bowes Sayre, LC-DIG-ggbain-14979.jpg|thumb]]
ขณะดำรงตำแหน่งในประเทศไทย ท่านได้ช่วยงานด้านการต่างประเทศของไทย โดยเป็นที่ปรึกษาด้านการต่างประเทศ ตั้งแต่ พ.ศ. 2466 ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ในด้านการทำ[[สนธิสัญญา]]<ref>[http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK4/chapter9/t4-9-l2.htm สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน, เล่ม 4]</ref> โดยเป็นผู้แทนรัฐบาลสยามในการเจรจา[[สนธิสัญญาไทย-สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2468]] ได้รับพระราชทาน[[บรรดาศักดิ์]]เป็น[[พระยากัลยาณไมตรี]] คนที่สอง สืบต่อจาก [[พระยากัลยาณไมตรี (เจมส์ ไอเวอร์สัน เวสเตนการ์ด)]]
 
'''พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิสเป็นนิติศาสตรบัณฑิต บี. แซร์)''' (30 เมษายน พ.ศ. 2428 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2515) จบการศึกษาด้านกฎหมายจาก[[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]] ต่อมาได้ เดินทางมายังประเทศสยาม (ต่อมาคือประเทศไทย) และดำรงตำแหน่งในฐานะเอกอัครราชทูตสหรัฐประจำ[[สยาม]] เมื่อ พ.ศ. 2468 ต่อมาได้เดินทางแล้วกลับสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2475 และที่บ้านเกิดเมืองนอน เขาได้รับแต่งตั้งจากประธานาธิบดี [[แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์]] ประธานาธิบดี ให้เป็นผู้ช่วยรัฐมนตรีต่างประเทศ แต่งตั้งต่อมาจึงได้เป็นข้าหลวงใหญ่สหรัฐอเมริกาในประจำประเทศ[[ฟิลิปปินส์]]ในปี พ.ศ. 2482 และแล้วดำรงตำแหน่งผู้แทนของสหรัฐประจำสหประชาชาติ และเป็นประธานใน[[คณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติ]] พร้อม ๆ กันในปี พ.ศ. 2490 <ref name="williams.edu"/>[[ไฟล์:Francis Bowes Sayre, LC-DIG-ggbain-14979.jpg|thumb]]
ฟรานซิส บี. แซร์ เป็นบุตรเขยของอดีตประธานาธิบดี[[วูดโรว์ วิลสัน]] โดยสมรสกับเจสซี วิลสัน บุตรสาวของวูดโรว์ วิลสัน ที่[[ทำเนียบขาว]]เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456 มีบุตรชื่อ [[ฟรานซิส บี. แซร์ จูเนียร์]], เอเลนอร์ แซร์ และ วูดโรว์ วิลสัน แซร์ <ref name="williams.edu">[http://archives.williams.edu/manuscriptguides/sayre/bio.php Biographical Chronology of Francis B. Sayre (1885-1972)]</ref>
 
ขณะดำรงตำแหน่งในประเทศไทย ท่านเขาได้ช่วยงานด้านการต่างประเทศของไทย โดยเป็นที่ปรึกษาด้านการต่างประเทศ ตั้งแต่ พ.ศ. 2466 ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และมาจนถึงรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โดยเฉพาะในด้านการทำ[[สนธิสัญญา]]<ref>[http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK4/chapter9/t4-9-l2.htm สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน, เล่ม 4]</ref> โดยเขาเป็นผู้แทนรัฐบาลสยามในการเจรจา[[สนธิสัญญาไทย-สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2468]] จึงได้รับพระราชทาน[[บรรดาศักดิ์]]เป็น[[พระยากัลยาณไมตรี]] คนที่สอง สืบต่อจาก [[พระยากัลยาณไมตรี (เจมส์ ไอเวอร์สัน เวสเตนการ์ด)]]
ท่านได้รับพระราชทาน[[เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9]] ชั้นที่ 1<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2496/D/080/5432.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์], เล่ม ๗๐, ตอน ๘๐ ง, ๒๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๙๖, หน้า ๕๔๓๒ </ref>
 
ฟรานซิส บี. แซร์ เป็นบุตรเขยของอดีตประธานาธิบดี[[วูดโรว์ วิลสัน]]ด้านครอบครัว โดยเขาสมรสกับเจสซี วิลสัน บุตรสาวของวูดโรว์ วิลสัน พิธีมงคลสมรสมีขึ้นที่[[ทำเนียบขาว]]เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456 ทั้งคู่มีบุตรชื่อ [[ฟรานซิส บี. แซร์ จูเนียร์]], เอเลนอร์ แซร์ และ วูดโรว์ วิลสัน แซร์ ตามลำดับ<ref name="williams.edu">[http://archives.williams.edu/manuscriptguides/sayre/bio.php Biographical Chronology of Francis B. Sayre (1885-1972)]</ref>
 
ท่านอนึ่ง ฟรานซิสได้รับพระราชทาน[[เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9]] ชั้นที่ 1 ด้วย<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2496/D/080/5432.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์], เล่ม ๗๐, ตอน ๘๐ ง, ๒๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๙๖, หน้า ๕๔๓๒ </ref>
 
== อ้างอิง ==