ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรมันคาทอลิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AvicBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต แก้ไข: lv:Romas katoļu baznīca
Aanon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
คำว่า "คาทอลิก" แปลว่า "สากล" หมายถึง ปฏิปทาของคนทั่วไป <ref>เสฐียร พันธรังษี. 2527: 347</ref>
อย่างไรก็ตาม คริสตศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก ไม่ถือว่าตนเองเป็นนิกายหนึ่ง แต่เป็นคริสต์ศาสนาที่สืบเนื่องมาจากต้นกำเนิด และถือว่าพวกตนเป็นผู้อนุรักษ์คำสั่งสอนที่ได้รับมาจากพระเยซูอย่างซื่อสัตย์ อีกทั้งเป็นผู้ปกป้องพระศาสนาให้เจริญก้าวหน้ามาโดยตลอด
 
== ประวัติ ==
นิกายโรมันคาทอลิกมีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ นักบุญเปโตร ได้รับการสถาปนาจากพระเยซูให้เป็นผู้ดูแลพระศาสนจักร อาจกล่าวได้ว่า ท่านเป็นสันตะปาปาคนแรกที่ทุกคนต้องยอมรับนับถือและมีศรัทธาเชื่อฟังในฐานะ " ผู้ดูแลฝูงแกะ" ของพระเจ้า ความคิดแบบนี้ได้สืบทอดกันต่อมาจนปัจจุบัน
พระสันตะปาปาจึงมิได้อยู่ในฐานะนักบวชเท่านั้น แต่เป็นประมุขสูงสุดของศาสนจักรที่ทุกคนต้องปฏิบัติตามคำสั่ง
นิกายโรมันคาทอลิกจึงเป็นนิกายที่มุ่งมั่นให้สัตบุรุษมีศรัทธา และปฏิบัติตามพระศาสนจักร เพราะศาสนจักรเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรแห่งสวรรค์ และเป็นองค์การที่สามารถนำประชาชนไปสู่การบรรลุเป้าหมายตามภาระกิจ ที่พระเจ้าได้มอบไว้
 
เดิมทีศาสนาคริสต์ยังไม่แบ่งแยกเป็นนิกาย ต่อเมื่อเกิดการแยกตัวของนิกายใหม่ ผู้ปฏิบัติในแนวทางเดิม (ที่ผ่านการเติบโตและดัดแปลงจากสมัยนักบุญเปโตร) จึงได้รับการแยกแยะว่าเป็นนิกายดั้งเดิม แตกต่างจากนิกายใหม่
เหตุการณ์แบ่งแยกครั้งแรกเกิดในรัชสมัยของจักรพรรดิ[[คอนสแตนติน]] (Constantine the Great) เมื่อพระองค์ได้ตั้งราชธานีใหม่ในภาคตะวันออก แถบประเทศตุรกีในปัจจุบัน พระราชทานนามว่า "[[คอนสแตนติโนเปิล]]" (Constantinople) หรือโรมันตะวันออกซึ่งเป็นศูนย์กลางของ[[อาณาจักรไบแซนไทน์]] (Byzantine)
อาณาจักรนี้มีความอิสระแยกออกจากโรมันตะวันตกซึ่งมี[[กรุงโรม]] (Rome) เป็นศูนย์กลาง
แต่เมื่อนานวันอาณาจักรโรมันตะวันออกมีความเข้มแข็งและเป็นอิสระในทุกด้าน จึงตีตนออกห่าง แยกการปกครองเป็นเอกเทศ รวมถึงการปกครองทางศาสนามีความเป็นอิสระจากกรุงโรม ไม่ยอมรับในพระราชอำนาจของพระสันตะปาปา จึงทำให้เกิดการแตกแยกออกเป็นนิกาย
กล่าวคืออาณาจักรโรมันตะวันตกได้รับอิทธิพลจากสำนักวาติกัน ซึ่งการศาสนามีบทบาทกลมกลืนกับสังคมและการเมืองนับถือนิกายโรมันคาทอลิก
ส่วนอาณาจักรโรมันตะวันออกได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมของเอเชียนับถือ[[นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์]]
 
== ความแตกต่างของนิกายโรมันคาทอลิกกับนิกายโปรเตสแตนต์ ==
เส้น 44 ⟶ 56:
ขณะที่ [[นิกายโปรเตสแตนต์]] เข้ามาเผยแพร่ภายหลัง คือในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โดยคณะ[[มิชชันนารี]] สมัยเดียวกับ[[หมอบรัดเลย์]] ชาว[[สหรัฐอเมริกา]] ซึ่งเรียกตัวเองว่า "คริสเตียน" ตามภาษาอังกฤษ
 
คำเรียกนี้เช่นเดียวกับพระนาม "[[เยซู]]" ซึ่งมาจากภาษาโปรตุเกส รวมถึงคำเรียกต่างๆ ในพระคริสตธรรมคัมภีร์ และศาสนพิธีคาทอลิก (เช่น "มิสซา") แต่ว่าอย่างไรก็ตาม ยังคงใช้ทับศัพท์ตามภาษาโปรตุเกสเรื่อยมา เพราะคนไทยคุ้นปากเสียแล้ว
 
== ประวัติศาสตร์ของนิกายโรมันคาทอลิก ==
นิกายโรมันคาทอลิกมีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ นักบุญเปโตร ได้รับการสถาปนาจากพระเยซูให้เป็นผู้ดูแลพระศาสนจักร อาจกล่าวได้ว่า ท่านเป็นสันตะปาปาคนแรกที่ทุกคนต้องยอมรับนับถือและมีศรัทธาเชื่อฟังในฐานะ " ผู้ดูแลฝูงแกะ" ของพระเจ้า ความคิดแบบนี้ได้สืบทอดกันต่อมาจนปัจจุบัน
พระสันตะปาปาจึงมิได้อยู่ในฐานะนักบวชเท่านั้น แต่เป็นประมุขสูงสุดของศาสนจักรที่ทุกคนต้องปฏิบัติตามคำสั่ง
นิกายโรมันคาทอลิกจึงเป็นนิกายที่มุ่งมั่นให้สัตบุรุษมีศรัทธา และปฏิบัติตามพระศาสนจักร เพราะศาสนจักรเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรแห่งสวรรค์ และเป็นองค์การที่สามารถนำประชาชนไปสู่การบรรลุเป้าหมายตามภาระกิจ ที่พระเจ้าได้มอบไว้
 
เดิมทีศาสนาคริสต์ยังไม่แบ่งแยกเป็นนิกาย ต่อเมื่อเกิดการแยกตัวของนิกายใหม่ ผู้ปฏิบัติในแนวทางเดิม (ที่ผ่านการเติบโตและดัดแปลงจากสมัยนักบุญเปโตร) จึงได้รับการแยกแยะว่าเป็นนิกายดั้งเดิม แตกต่างจากนิกายใหม่
เหตุการณ์แบ่งแยกครั้งแรกเกิดในรัชสมัยของจักรพรรดิ[[คอนสแตนติน]] (Constantine the Great) เมื่อพระองค์ได้ตั้งราชธานีใหม่ในภาคตะวันออก แถบประเทศตุรกีในปัจจุบัน พระราชทานนามว่า "[[คอนสแตนติโนเปิล]]" (Constantinople) หรือโรมันตะวันออกซึ่งเป็นศูนย์กลางของ[[อาณาจักรไบแซนไทน์]] (Byzantine)
อาณาจักรนี้มีความอิสระแยกออกจากโรมันตะวันตกซึ่งมี[[กรุงโรม]] (Rome) เป็นศูนย์กลาง
แต่เมื่อนานวันอาณาจักรโรมันตะวันออกมีความเข้มแข็งและเป็นอิสระในทุกด้าน จึงตีตนออกห่าง แยกการปกครองเป็นเอกเทศ รวมถึงการปกครองทางศาสนามีความเป็นอิสระจากกรุงโรม ไม่ยอมรับในพระราชอำนาจของพระสันตะปาปา จึงทำให้เกิดการแตกแยกออกเป็นนิกาย
กล่าวคืออาณาจักรโรมันตะวันตกได้รับอิทธิพลจากสำนักวาติกัน ซึ่งการศาสนามีบทบาทกลมกลืนกับสังคมและการเมืองนับถือนิกายโรมันคาทอลิก
ส่วนอาณาจักรโรมันตะวันออกได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมของเอเชียนับถือ[[นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์]]
 
== การเผยแพร่เผยแผ่นิกายโรมันคาทอลิกในประเทศไทย ==
:''รายละเอียด ประวัติการเผยแพร่เผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกในประเทศไทย ดูที่บทความหลัก [[โรมันคาทอลิกในประเทศไทย]] ''
 
== อ้างอิง ==