ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประชานศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Thaicog (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''วิทยาการการรู้''' หรือ '''วิทยาการปัญญา''' หรือ '''วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา''' หรือ '''ปริชานศาสตร์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: cognitive science) ความหมายโดยทั่วไปคือการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ทั้งเรื่องของความคิดและความฉลาด แต่หากกล่าวอย่างเป็นรูปนัยจะเน้นว่าเป็นการศึกษาด้าน[[สหวิทยาการ]]ประกอบด้วย [[จิตวิทยาพุทธิปัญญานิยม]] (Cognitive Psychology) [[ประสาทวิทยา-จิตวิทยา]] (Neuro-psychology) [[ภาษาศาสตร์]] [[ปรัชญา]] [[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] (เจาะจงเรื่อง[[ปัญญาประดิษฐ์]]) [[มานุษยวิทยา]] และ [[จิตวิทยา]]-[[ชีววิทยา]] (Psycho-biology) หรือสาขาประยุกต์ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อการศึกษาวิจัยภาวะของจิตและกระบวนการที่มนุษย์ควบคุมเปลี่ยนแปรยักย้ายข้อมูลข่าวสาร งานวิจัยในสาขาวิทยาการการรู้ได้ประยุกต์ใช้[[องค์ความรู้]]จากหลากหลายสาขาเพื่อศึกษาการทำงานของระหว่าง[[สมอง]]และ[[จิตใจ]] (brain and mind) ศึกษาวิจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างการคิด อารมณ์ และการกระทำ การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (brain-based learning) พฤติกรรม ความผิดปกติทางการเรียน การรับรู้ ความสนใจ การจำ การแก้ปัญหา การคำนวณ การให้เหตุผล และการตัดสินใจ บนพื้นฐานทาง[[วิทยาศาสตร์]] เช่น การแปลผลจาก[[คลื่นไฟฟ้าสมอง]] (EEG) การวิเคราะห์จากถ่ายภาพสมอง (brain imaging) เป็นต้น <ref>[http://www.vcharkarn.com/varticle/41522] บทความ "วิทยาการปัญญาคืออะไร?", วิชาการ.คอม, 23 กันยายน 2553</ref> <ref>มนตรี โพธิโสโนทัย, (2552). การประยุกต์ใช้งานคลื่นไฟฟ้าสมองกับงานวิจัยด้านวิทยาการปัญญา, วารสารวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา, ปีที่ 7, ฉบับที่ 1, หน้า 1-14.</ref> <ref>มนตรี โพธิโสโนทัย, (2553). การศึกษาการทำงานของสมองและจิตใจในสาขาวิทยาการปัญญา, เซมิคอนดักเตอร์อิเล็กทรอนิกส์, ฉบับที่ 350, หน้า 146-152.</ref>
 
== วิทยาการการรู้ในประเทศไทย ==