ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิศวกรรมชายฝั่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
# การออกแบบสิ่งก่อสร้างชายฝั่งเช่น เขื่อนกันคลื่น (breakwater), รอดักทราย (groin), กำแพงกันคลื่น(seawall), ท่าเรือขนาดใหญ่ (port) ซึ่งจะส่งผลให้สภาพชายฝั่งบริเวณใกล้เคียง กระแสน้ำ และลักษณะคลื่น ได้รับผลกระทบ
 
ไม่นานมานี้ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ได้กำหนดกฏเกณฑ์ให้สิ่งก่อสร้างทุกชนิดที่จะทำการก่อสร้างในทะเล ไม่ว่าจะเป็นท่าเทียบเรือ เขื่อนกันคลื่น กำแพงกันคลื่น เขื่อนหินริมทะเล (รายละเอียด สามารถดูได้จากประกาศของ สผ.) ต้องได้จัดทำรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ก่อน ดังนั้นวิศวกรรมชายฝั่งจึงเป็นสาขาวิชาความรู้ที่มีความสำคัญและเป็นที่ต้องการในการพัฒนาประเทศและรักษาสิ่งแวดล้อมไปพร้่อมๆ กัน
 
ในปัจจุบันนี้วิศวกรรมชายฝั่งได้รับความสนใจมาก โดยเฉพาะเหตุการณ์คลื่นยักษ์ถล่มประเทศไทย การคำนวณระยะเวลาที่คลื่นจะเคลื่อนที่จากจุดที่เกิดแผ่นดินไหวจนคลื่นกระทบฝั่งเป็นความรู้พื้นฐานที่สำคัญของวิศวกรรมชายฝั่ง
บรรทัด 17:
อย่างไรก็ตามในสังคมปัจจุบัน ความรู้ด้านวิศวกรรมชายฝั่งอย่างเดียวอาจไม่สามารถบริหารจัดการชายฝั่งได้ดี จึงมีแนวคิดที่เรียกว่า การบริหารชายฝั่งแบบบูรณาการ หรือ Integrated Coastal Zone Management เกิดขึ้น
 
บุคคลที่มีความรู้ด้านวิศวกรรมอย่างเดียวอาจไม่สามารถบริหารจัดการชายฝั่งได้ ดังนั้นผู้จัดการชายฝั่ง (Coastal manager) จึงควรมีความรู้ไม่เฉพาะด้านวิศซกรรมวิศวกรรมอย่างเดียว แต่ต้องมีความรูรู้ด้านอื่นด้วย เช่น การบริหารข้อขัดแย้ง (Conflict Resolution) เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Environmental Economic), สิ่งแวดล้อม, และการศึกษาด้านนโยบาย (Policy Analysis) เป็นต้น
 
นอกจากนี้ผลงานตีพิมพ์ระดับนานาชาติของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับ การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งแบบบูรณาการณ์ ยังมีไม่มาก ตัวอย่างเช่น
Saengsupavanich, et al. (2009) ได้ตีพิมพ์ผลงานในวารสารวิชาการนานาชาติ Ocean & coastal management เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งแบบบูรณาการ บริเวณบ้านหน้าโกฏิ อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นบทความเชิงประยุกต์ผสมผสานศาสตร์ด้านวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม และสังคมเข้าด้วยกัน
 
 
 
== อ้างอิง ==