ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาแลมป์เพรย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{Taxobox | image = | image_width = 300px | image_caption = | fossil_range = {{Fossil range|Late Devonian|Recent}}<ref name=FB>{{FishBase_order|order=Petromyzontiformes|ye...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| image_width = 300px
| image_caption =
| fossil_range = {{Fossil range|Late [[Devonian|Recent}}ดีโวเนียน]]ตอนปลาย-ปัจจุบัน<ref name=FB>{{FishBase_order|order=Petromyzontiformes|year=2009|month=January}}</ref>
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 12:
| subdivision_ranks = [[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์ย่อย]]
| subdivision =
*[[Geotriinae]]<br>
*[[Mordaciinae]]<br>
*[[Petromyzontinae]]
}}
'''ปลาแลมป์เพรย์''' ({{lang-en|Lamprey, Lamprey eel}}) เป็น[[ปลา]]ที่อยู่ใน[[ชั้น (ชีววิทยา)|ชั้นใหญ่]][[ปลาไม่มีขากรรไกร]] จัดอยู่ในวงศ์ Petromyzontiformes และอันดับ Petromyzontidae
บรรทัด 24:
ปลาแลมป์เพรย์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 จำพวกใหญ่ ๆ คือ แบบธรรมดา จะอาศัยอยู่ตามลำธาร ช่วงชีวิตส่วนใหญ่จะเป็นระยะตัวอ่อนที่กินอาหารแบบกรอง ตัวเต็มวัยมีชิวิตอยู่ 3-4 [[สัปดาห์]] โดยไม่กินอาหารเนื่องจากทางเดินอาหารสลายตัว เหลือเพียงสายของเนื้อเยื้อที่ไม่มีหน้าที่การทำงานและจะตายไปหลังวางไข่ ปลาแลมป์เพรย์จำพวกนี้สามารถดำรงชีวิตได้เอง โดยการกินสัตว์อื่นเป็นอาหาร มี[[ความยาว]]โดยเฉลี่ยประมาณ 15-60 [[เซนติเมตร]] จะมีการวางไข่ที่ลำธารน้ำจืดที่มีพื้นเป็น[[ทราย]]และก้อน[[กรวด]]เล็ก ๆ ตามพื้นท้องน้ำและวางไข่ในฤดูตัวผู้จะเริ่มสร้างแอ่งวางไข่โดยใช้ปากคาบเอาหินและกรวดจากพื้นโดยการแกว่งลำตัวทำให้ก้อนกรวดกระจายออกไปเกิดเป็นแอ่งรูปไข่ ตัวเมียจะตามมาและเกาะกับหินเหนือแอ่ง ตัวผู้เกาะทางด้านหัวของตัวเมีย ตัวเมียปล่อยไข่ลงในแอ่ง ตัวผู้ปล่อย[[อสุจิ|น้ำเชื้อ]]ออกผสม [[ไข่]]ที่[[ปฏิสนธิ]]แล้วจะยึดเกาะกับก้อนกรวดในแอ่ง แล้วกลบด้วยทราย ลักษณะพิเศษคือ หลังวางไข่แล้วทั้งตัวผู้และเมียก็จะตายไป จากนั้น ไข่จะฟักออกในเวลา 2 [[สัปดาห์]] เป็นตัวอ่อนขนาดเล็กตัวยาว เรียกว่า แอมโมซีทิส (Ammocoetes) ซึ่งจะคงอยู่ในแอ่งจนตัวยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ก็จะฝังตัวเข้าไปในทรายแล้วออกมาหากินในเวลา[[กลางคืน]] ระยะตัวอ่อนแอมโมซีทีสจะยาวนานประมาณ 3-7 ปี จึงจะเจริญเปลี่ยนรูปร่างเป็นตัวเต็มวัย ซึ่งตัวเต็มวัยจะคงอยู่ในน้ำจืดอีกประมาณ 1 ปี แล้วก็วางไข่ จากนั้นก็จะตายไป ส่วน[[สปีชีส์|ชนิด]]ที่เป็น[[ปลาทะเล]]ก็จะอพยพคืนถิ่นสู่ทะเล มีอายุยืนยาวกว่าชนิดที่เป็น[[ปลาน้ำจืด]] เมื่อเข้ามาวางไข่ในน้ำจืดจะไม่กินอาหาร
 
และ ปลาแลมป์เพรย์ที่เป็น[[ปาราสิตปรสิต]] จะมีปากคล้ายแว่นดูดและมีอุ้งปาก คล้ายถ้วยลึกลงไปในอุ้งปาก และลิ้นมีฟันที่เจริญดีอยู่ มันจะใช้ปากเกาะเหยื่อและใช้ฟันและลิ้นครูดเอาเนื้อออก และให้เลือดของเหยื่อไหลผ่านได้สะดวก แลมป์เพรย์จะสร้างสารป้องกันการตกตะกอนของเลือดส่งไปที่ปากแผล เมื่อดูดเลือดของเหยื่อจนตัวเหยื่อแห้งก็จะปล่อยแล้วหาเหยื่อใหม่ <ref>[http://www.school.net.th/library/webcontest2003/100team/dlnes141/t5/t5_4.html ปลาไม่มีขากรรไกร ( ( SuperClass Agnatha)]</ref>
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}