ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมู่บ้าน (ประเทศไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AvicBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: bpy:মুবান
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''หมู่บ้าน''' เป็นรูปแบบการปกครองลักษณะปกครองท้องที่ นับเป็นเขตการปกครองขนาดเล็กที่สุดของประเทศไทย โดยแบ่งย่อยออกจาก[[ตำบล]]อีกทีหนึ่ง จากข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2552 ประเทศไทยมีหมู่บ้าน 74,944 หมู่บ้าน<ref>{{cite web|url=http://www.dopa.go.th/dopanew/doc/dopastat52.pdf|publisher=Department of provincial administration (DOPA)|title=ข้อมูลทางการปกครอง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552}}</ref> และจากข้อมูลสำมะโนประชากรเมื่อปี พ.ศ. 2533 แต่ละหมู่บ้านมีประชากรโดยเฉลี่ย 144 ครัวเรือน หรือ 746 คน หมู่บ้านไม่จำเป็นจะต้องครอบคลุมถิ่นฐานหนึ่งทั้งหมดก็ได้ ชุมชนขนาดใหญ่สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายหมู่บ้าน ขณะที่ชุมชนขนาดเล็กสามารถรวมเข้าด้วยกันเป็นหมู่บ้านหนึ่ง ๆ ได้ คำว่า "หมู่บ้าน" มักจะถูกย่อเหลือเป็น "บ้าน" ในชื่อหมู่บ้าน
 
== การปกครองหมู่บ้าน ==
ในการปกครองหมู่บ้าน จะเป็นไปตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พุทธศักราช 2457 โดยกำหนดให้หมู่บ้าน มี '''ผู้ใหญ่บ้าน''' ทำหน้าที่ปกครองหมู่บ้าน และมีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้ปกครอง โดยผู้ใหญ่บ้านจะถูกเลือกขึ้นมาจากประชากรในหมู่บ้านนั้น แล้วจึงได้รับแต่งตั้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยนายอำเภอท้องที่ ผู้ใหญ่บ้านมีผู้ช่วยสองคน คนหนึ่งรับผิดชอบกิจการของรัฐและอีกคนหนึ่งรับผิดชอบกิจการความมั่นคง นอกจากนี้ยังมีคณะกรรมการหมู่บ้านที่ได้รับเลือกจากสมาชิกในหมู่บ้าน ทำหน้าที่เป็นหน่วยงานที่ปรึกษาของหมู่บ้านนั้น แต่เดิมซึ่งตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านเมื่อได้รับเลือกตั้งแล้วนั้นจะดำรงตำแหน่งจนกระทั่งปลดเกษียณยกเลิกมิได้<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/A/100/1.PDF แต่ปัจจุบันมีวาระดำรงตำแหน่งคราวละห้าปีพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ แต่สามารถลงสมัครรับเลือกตั้งใหม่ได้(ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2552]</ref>
 
ในอดีตไม่มีการกำหนดวาระการดำรวตำแหน่งของผู้ใหญ่บ้าน<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2457/A/229.PDF พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457]</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2489 ได้กำหนดให้ผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ และอายุไม่เกิน 60 ปี<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/083/816.PDF พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2489]</ref> จากนั้นได้มีการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของผู้ใหญ่บ้านอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2525 โดยกำหนดให้ผู้ใหญ่บ้านมีอายุ 25 ปีขึ้นไป แต่ไม่เกิน 60 ปี<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2525/A/121/7.PDF พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2525]</ref> กระทั่งในปี พ.ศ. 2535 ได้มีการกำหนดวาระการดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน โดยกำหนดเพิ่มเติมในมาตรา 6 (1 ทวิ) ให้กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน มีวาระการดำรตำแหน่งคราวละ 5 ปี<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/A/042/90.PDF พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2535]</ref> แต่ในปี พ.ศ. 2551 ได้มีการปรับปรุงวาระการดำรงตำแหน่งอีกครั้ง โดยยกเลิกวาระ 5 ปี แต่ปรับเปลี่ยนมาเป็นการประเมินทุก 5 ปีแทน<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/A/027/96.PDF พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551]</ref>
หมู่บ้านที่อยู่ใน[[เทศบาลเมือง]]หรือ[[เทศบาลนคร]]จะไม่มีผู้ใหญ่บ้าน
 
หมู่บ้านที่อยู่ใน[[เทศบาลเมือง]]หรือ[[เทศบาลนคร]]จะไม่มีผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้าน แต่จะเรียกว่า "ชุมชน" แทน
 
== อ้างอิง ==