ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เงินไซซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Grandpalace s (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
'''เงินไซซี''' เป็นเงินแท่งซึ่งมีแหล่งกำเนิดมาจาก[[ประเทศจีน]] โดยพ่อค้าชาวจีนนำเข้ามาเพื่อใช้ในการซื้อสินค้าเมื่อครั้งสมัยกรุง[[สุโขทัย]]เป็นราชธานี โดยอาณาเขตทางตอนเหนือของสุโขทัยคือ อาณาจักรลานนาไทย มีเนื้อที่ครอบคลุมถึงจังหวัด[[เชียงใหม่]] [[เชียงราย]] [[ลำปาง]] และ[[น่าน]] ก็มีเงินท้องถิ่นของตนใช้อยู่ ได้แก่ เงินกำไล เงินเจียง เงินดอกไม้ และเงินท้อก แต่เงินไซซีก็เป็นเงินตราอีกชนิดหนึ่งที่ได้รับการยอมรับและใช้เป็นสื่อกลางในการค้าขายในอาณาจักรลานนาไทยในขณะนั้นด้วย
 
[[ไฟล์:เงินไซซี.jpg |thumb|right|เงินไซซีเรือสำเภา]]
 
===ความเป็นมา===
 
[[ไฟล์:เงินไซซี 1.jpg |thumb|right|เงินไซซีเรือสำเภา]]
'''“ไซซี”''' เป็นคำภาษาจีน แปลว่า ไหมบริสุทธิ์ ที่เรียกเงินแท่งว่าเงินไซซี ก็เป็นการเปรียบเทียบกับโลหะเงินหรือทองที่ถูกหลอมจนเหลวและไหลเป็นสายลงไปในแม่พิมพ์ มองดูคล้ายสายไหมนั่นเอง เงินไซซีมีวิธีการทำโดยการหล่อจากแม่พิมพ์ให้มีรูปร่างตามต้องการ และขณะที่โลหะยังแข็งตัวไม่เต็มที่ก็จะตีตราประทับชื่อผู้ออกเงิน สถานที่ผลิตเงิน และข้อความอื่นๆ ลงบนด้านบนของเงินไซซี นอกจากนั้นยังเป็นเงินที่ไม่มีราคาหน้าเหรียญเพราะเป็นแท่งเงินที่กำหนดค่าโดยน้ำหนักและเนื้อเงิน ทั้งนี้ ลักษณะรูปร่าง ขนาด น้ำหนัก และเนื้อเงินของเงินไซซีอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับแหล่งที่ทำ จึงไม่จำเป็นที่เงินไซซีจะต้องทำจากเนื้อเงินบริสุทธิ์เสมอไป แต่เงินไซซีที่ทำด้วยเนื้อเงินบริสุทธิ์ก็มี เช่น เงินไซซีอานม้า (Saddle money) เงินไซซีรองเท้า (Shoe money) เงินไซซีเรือสำเภา (Boat money) เงินไซซีขนมครก เป็นต้น และเมื่อต้องการใช้เงินปลีกย่อยก็จะตัดเงินไซซีออกเป็นส่วนย่อยๆ ตามน้ำหนักที่ต้องการ โดยเงินไซซีที่พบมากที่สุดคือ เงินไซซีรองเท้า ซึ่งมีลักษณะคล้ายรองเท้าของสตรีจีนที่นิยมสวมใส่ในสมัยโบราณ สำหรับเงินไซซีทองคำนั้นมีการพบน้อยมาก และเงินไซซีที่มีน้ำหนักมากที่สุดที่พบใน[[ประเทศไทย]]คือ เงินไซซีเรือสำเภาซึ่งมีน้ำหนักถึง ๑๒๕ บาท (ประมาณ ๑,๘๗๕ กรัม) ด้วยเหตุที่เป็นเงินแท่งที่มีความบริสุทธิ์สูง สามารถตีให้ยาวเหยียดคล้ายเส้นไหมได้ คนไทยจึงเรียกเงินไซซีนี้ว่า เงินมุ่น ซึ่งแปลว่า ละเอียดเหมือนมุ่นไหม ชาวลานนาจึงนิยมนำมาใช้[[เครื่องประดับ]] ตลอดจนเครื่องใช้ในครัวเรือน เช่น ขันเงิน เชี่ยนหมากเงิน เข็มขัดเงิน ตลอดจนใช้เป็นเงินตราของอาณาจักร[[ลานนา]]ด้วย
 
'''“ไซซี”''' เป็นคำภาษาจีน แปลว่า ไหมบริสุทธิ์ ที่เรียกเงินแท่งว่าเงินไซซี ก็เป็นการเปรียบเทียบกับโลหะเงินหรือทองที่ถูกหลอมจนเหลวและไหลเป็นสายลงไปในแม่พิมพ์ มองดูคล้ายสายไหมนั่นเอง เงินไซซีมีวิธีการทำโดยการหล่อจากแม่พิมพ์ให้มีรูปร่างตามต้องการ และขณะที่โลหะยังแข็งตัวไม่เต็มที่ก็จะตีตราประทับชื่อผู้ออกเงิน สถานที่ผลิตเงิน และข้อความอื่นๆ ลงบนด้านบนของเงินไซซี นอกจากนั้นยังเป็นเงินที่ไม่มีราคาหน้าเหรียญเพราะเป็นแท่งเงินที่กำหนดค่าโดยน้ำหนักและเนื้อเงิน ทั้งนี้ ลักษณะรูปร่าง ขนาด น้ำหนัก และเนื้อเงินของเงินไซซีอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับแหล่งที่ทำ จึงไม่จำเป็นที่เงินไซซีจะต้องทำจากเนื้อเงินบริสุทธิ์เสมอไป แต่เงินไซซีที่ทำด้วยเนื้อเงินบริสุทธิ์ก็มี เช่น เงินไซซีอานม้า (Saddle money) เงินไซซีรองเท้า (Shoe money) เงินไซซีเรือสำเภา (Boat money) เงินไซซีขนมครก เป็นต้น และเมื่อต้องการใช้เงินปลีกย่อยก็จะตัดเงินไซซีออกเป็นส่วนย่อยๆ ตามน้ำหนักที่ต้องการ โดยเงินไซซีที่พบมากที่สุดคือ เงินไซซีรองเท้า ซึ่งมีลักษณะคล้ายรองเท้าของสตรีจีนที่นิยมสวมใส่ในสมัยโบราณ สำหรับเงินไซซีทองคำนั้นมีการพบน้อยมาก และเงินไซซีที่มีน้ำหนักมากที่สุดที่พบใน[[ประเทศไทย]]คือ เงินไซซีเรือสำเภาซึ่งมีน้ำหนักถึง ๑๒๕ บาท (ประมาณ ๑,๘๗๕ กรัม) ด้วยเหตุที่เป็นเงินแท่งที่มีความบริสุทธิ์สูง สามารถตีให้ยาวเหยียดคล้ายเส้นไหมได้ คนไทยจึงเรียกเงินไซซีนี้ว่า เงินมุ่น ซึ่งแปลว่า ละเอียดเหมือนมุ่นไหม ชาวลานนาจึงนิยมนำมาใช้[[เครื่องประดับ]] ตลอดจนเครื่องใช้ในครัวเรือน เช่น ขันเงิน เชี่ยนหมากเงิน เข็มขัดเงิน ตลอดจนใช้เป็นเงินตราของอาณาจักร[[ลานนา]]ด้วย
 
==การใช้เงินไซซีในประเทศจีนมีดังนี้==