ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไสยศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: kk:Магия
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต แก้ไข: cs:Magie; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 10:
'''ลัทธิไสยศาสตร์''' คือการรวมอำนาจจิต รวมพลังงานทางจิตซึ่งได้ทำการอบรมจิตใจให้มีความยึดมั่น เชื่อถือ อย่างจริงจัง ดำเนินไปตามหลักทางไสยศาสตร์ ตามวิธีการนั้น ๆ ก็จะสามารถแสดงฤทธิ์ปาฎิหารย์ได้ด้วยกระแสคลื่นแห่งพลังอำนาจจิตอันแรงกล้า ของ [[มโนภาพ]] [[สมาธิ]] [[จิตตานุภาพ]] ทั้งสามประการนี้ จึงเป็นบ่อเกิดแห่งอำนาจที่ประหลาดมหัศจรรย์ขึ้นได้
 
ลัทธิไสยศาสตร์ ได้เกิดขึ้นมา[[ก่อนพุทธกาล]] ในคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ '''[[ไตรเพท]]''' ในลัทธิของ[[พราหมณ์]] ได้แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ
# ฤคเวทย์ เป็นคำฉันท์ใช้สำหรับสวดมนต์และสรรเสริญพระเจ้า
# ยชุรเวทย์ เป็นคำร้อยแก้วให้สำหรับท่องบ่นเวลาบวงสรวงบูชาพระเจ้า
บรรทัด 16:
# อาถรรพเวทย์ เป็นคัมภีร์ประกอบด้วยเวทยมนต์คาถาเรียกผีสาง เทวดาให้ช่วยป้องกันอันตรายให้ และให้มีการแก้อาถรรพ์ ทำพิธีสาปแช่งให้เป็นอันตรายได้ด้วย
 
== อาถรรพเวทย์ ==
อาถไสยศาสตร์. อาถรรพเวทย์ในคัมภีร์ไสยศาสตร์ แยกออกเป็น 2 นิกาย คือ
# นิกายขาว (White System) เป็นวิชาที่ใช้ในทางดี คือช่วยเหลือมนุษย์ให้มีสุขปลอดภัย
# นิกายดำ (Black System) เป็นวิชาที่ใช้ในทางชั่ว คือทำให้เกิดอันตรายแก่ผู้อื่น
 
== คัมภีร์แสดงถึงความศักดิ์สิทธิ์ทางเวทมนตร์คาถา ==
มี 8 ประเภทคือ
# พระเวทย์แก้โรคต่าง ๆ
# พระเวทย์ประสาน
# พระเวทย์สะเดาะ เช่น สะเดาะกุญแจและโซ่ตรวน
# พระเวทย์ป้องกันตัว เช่น คาถาแคล้วคลาด
# พระเวทย์แสดงปาฎิหาริย์
# พระเวทย์ทำอันตรายผู้อื่น
บรรทัด 32:
# พระเวทย์ทำเสน่ห์ เช่น มนตร์เทพรำจวญ
 
== อ้างอิง ==
# อาจารย์ โหรญาณโชติ, คัมภีร์ไสยศาสตร์ ฉบับสมบูรณ์, ________ .
 
บรรทัด 44:
[[bn:জাদু (মায়াবিদ্যা)]]
[[ca:Màgia]]
[[cs:Magie (esoterismus)]]
[[cy:Dewiniaeth]]
[[da:Magi]]