ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระที่นั่งราชฤดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Ratcharuedee.jpg|thumb|300px|พระที่นั่งราชฤดี ภายในหมู่[[พระมหามณเฑียร]]]]
'''พระที่นั่งราชฤดี''' ก่อสร้างเป็นขึ้นหลายครั้ง ตั้งอยู่ที่ชานชาลาทางด้านทิศตะวันออกของ[[พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน]] องค์แรกสร้างใน''รัชกาลที่ 4'' [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นที่ประทับว่าราชการ เป็นตึกอย่างฝรั่งสองชั้น ภายในโถงตอนกลางยกพื้นสูง มีพระแท่นองค์ประธานอยู่ระหว่างเสา มีประตูรับเสด็จขึ้น หมู่พระมหามณเฑียรจากพระที่นั่งองค์นี้ทาง[[หอพระสุราลัยพิมาน]] โปรดเกล้าฯ ให้เป็นที่จัดแสดงสิ่งของนานาชาติ ส่งเข้ามาถวายมาเป็นพระราชไมตรีมาตั้งให้ทูตานุทูต พระราชอาคันตุกะ ตลอดจนข้าราชละอองธุลีพระบาทได้ชม ถือได้ว่าพระที่นั่งองค์นี้ เป็นต้นกำเนิดพิพิธภัณฑสถานแห่งแรกของไทย เมื่อสร้าง[[พระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์]]ใน[[พระอภิเนาว์นิเวศน์]] จึงย้ายของไปไว้ที่พระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์แทน
 
ต่อมา เมื่อพระที่นั่งราชฤดีทรุดโทรมมาก [[รัชกาลที่ 5พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงโปรดเกล้าฯ ให้รื้อแล้วปลูกเป็นเก๋งจีน ครั้นเมื่อทรุดโทรมอีก จึงให้รื้อไปพระราชทาน และนำนามพระที่นั่งที่ไปพระราชทานเป็นนามพระที่นั่งโถง ใน[[พระราชวังดุสิต]]แทน หลังจากนั้น และ[[รัชกาลที่ 6พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งขึ้นใหม่ในบริเวณพระที่นั่งราชฤดีเดิม สำหรับสรงน้ำในพระราชพิธีต่างๆต่าง ๆ พระราชทานนามว่า''' "พระที่นั่งจันทรทิพโยภาส''' " ต่อมา ได้มีประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2466 ให้เปลี่ยนพระนามเป็น "พระที่นั่งราชฤดี" (ส่วนพระที่นั่งราชฤดีภายในพระราชวังดุสิต เปลี่ยนเป็น[[ ศาลาสำราญมุขมาตย์]])<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2466/A/4.PDF ประกาศ นามพระที่นั่ง (เปลี่ยนพระนามพระที่นั่งราชฤดี เป็น ศาลาสำราญมุขมาตยา พระที่นั่งสีตลาภิรมย์ เป็นศาลาวรสภาภิรมย์ และพระที่นั่งจันทรทิพโยภาส เป็น พระที่นั่งราชฤดี)], เล่ม ๔๐, ตอน ๐ ก, ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๖, หน้า ๔ </ref>

พระที่นั่งราชฤดีมีลักษณะเป็นอาคารทรงไทยแบบพลับพลาตรีมุข เป็นพระที่นั่งโถง ยกพื้นสูง 70 เซนติเมตร ประดับช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ นาคสะดุ้งปิดอง หลังคามุงกระเบื้องดินเผาเคลือบสี หน้าบันเป็นไม้จำหลักลายรูป[[พระนารายณ์]]ทรง[[ครุฑ|สุบรรณ]] มีกระหนกก้านขดหัวนาคเป็นลายประกอบบนพื้นกระจกสี มีชานยื่นเลยจากองค์พระที่นั่งสองด้าน ด้านเหนือเป็นที่สำหรับพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าเสด็จฯ ออกทรงประกอบพิธีสังเวยเทพยดา ด้านทิศตะวันตกเป็นที่ตั้งแท่นสรงพระมูรธาภิเษกสนาน
 
ใน[[รัชกาลปัจจุบัน]] เมื่อพ.ศ. 2506 ทรงทำพิธีสรงมูรธาภิเษก ในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา 3 รอบ ณ พระที่นั่งราชฤดีองค์นี้
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
=== บรรณานุกรม ===
 
* {{อ้างหนังสือ