ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลานิล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
ลบก่อกวน
บรรทัด 42:
หลังจากฟักออกเป็นตัวแล้วประมาณ 3-4 วัน แม่ปลาก็จะคายลูกปลาให้ว่ายออกมาจากปาก ลูกปลาในระยะนี้สามารถกินอาหารจำพวกพืชและไรน้ำเล็ก ๆ ซึ่งมีอยู่ในน้ำ โดยจะว่ายวนเวียนอยู่ที่บริเวณหัวของแม่ปลา และจะเข้าไปหลบซ่อนอยู่ในช่องปากเมื่อต้องการหลบหลีกอันตราย โดยลูกปลาจะเข้าทางปากหรือช่องเหงือก หลังจากลูกปลามีอายุ 1 สัปดาห์ จึงจะเลิกหลบเข้าไปซ่อนในช่องปากของแม่ แต่แม่ปลาก็ยังคอยระวังศัตรูให้ โดยว่ายวนเวียนอยู่ใกล้บริเวณที่ลูกปลาหาอาหารกินอยู่ ปลานิลจะรู้จักวิธีหาอาหารกินได้เองเมื่อมีอายุได้ 3 สัปดาห์ และมักจะว่ายกินอาหารรวมกันเป็นฝูง
 
== การพัฒนาสายพันธุ์ลูกผสม ==
*'''ปลานิลแดง''' เป็นการพัฒนาสายพันธุ์จากปลานิลธรรมดา ๆ ของศูนย์พัฒนาประมงของ[[จังหวัดอุบลราชธานี]]และ[[จังหวัดขอนแก่น]] โดย ดร.[[ปกรณ์ อุ่นประเสริฐ]] ได้ปลาที่มีลักษณะเป็นปลาที่มี[[สีขาว]]อม[[แดง]] จึงขึ้นทูลเกล้าฯถวาย [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] และได้รับการพระราชทานนามว่า "ปลานิลแดง" มาตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2522]]
[http://dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00419/237097_ab.pdf บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ผลของวัตถุดิบพืชต่อประสิทธิภาพการย่อยอาหารและการเจริญเติบโตของปลานิลแปลงเพศ]</ref> อีกนัยหนึ่งหมายถึงสายพันธุ์หนึ่งของปลานิลที่มีสีแดงอ่อน (ปลานิลจิตรลดา) <ref>[http://fishcrcs.org/?name=news&file=readnews&id=1 ชนิดสัตว์น้ำนำเข้า-ส่งออกด่านตรวจสัตว์น้ำจังหวัดเชียงราย] ด่านตรวจสัตว์น้ำจังหวัดเชียงราย</ref><ref>[http://www.fisheries.go.th/webboard4/print.asp?qNo=5894&page=1 ปลาทับทิม, ปลานิลแดง, ปลานิล] จากกรมประมง</ref>
*'''ปลาทับทิม''' เป็นการพัฒนาสายพันธุ์โดย [[เครือเจริญโภคภัณฑ์]] หรือ บริษัท ซีพี ซึ่งเป็นบริษัทเอกชน จนได้ปลานิลสายพันธุ์ใหม่ที่อดทน สามารถเลี้ยงได้ดีใน[[น้ำกร่อย]]ได้ เนื้อแน่นมีรสชาติอร่อยกว่าปลานิลธรรมดา เนื่องจากมีสีขาวอมแดงเรื่อ ๆ คล้าย[[ทับทิม]] จึงได้รับการพระราชทานนามจาก [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ว่า "ปลาทับทิม"<ref>รายการเพื่อนเกษตร เช้าข่าวเจ็ดสี ทาง[[ช่อง 7]]: [[วันพุธ]]ที่ [[14 กันยายน]] [[พ.ศ. 2554]]</ref>
เสียเส่นบ่อมึง
*'''ปลานิลซูเปอร์เมล''' หรือ '''ปลานิลเพศผู้ GMT''' เป็นการพัฒนาสายพันธุ์จนได้ปลา[[เพศชาย|เพศผู้]]ทั้งหมด โดยทำการดัดแปลง[[โครโมโซม]] ซึ่งปลานิลซูเปอร์เมลให้ผลผลิตต่อ[[ไร่]]สูงกว่าปลานิลทั่วไป<ref>[http://www.fisheries.go.th/genetic/r_tillapia02.htm การทดลองเพาะเลี้ยงปลานิลเพศผู้ GMT]</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปลานิล"