ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ปลาผีเสื้อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 41:
สำหรับใน[[น่านน้ำไทย]]พบปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อนี้ไม่ต่ำกว่า 25 ชนิด อาทิ [[Chelmon rostratus|ปลาผีเสื้อนกกระจิบ]] (''Chelmon rostratus''), [[Chaetodon semilarvatus|ปลาผีเสื้อทอง]] (''Chaetodon semilarvatus''), [[Forcipiger flavissimus|ปลาผีเสื้อจมูกยาว]] (''Forcipiger flavissimus''), [[Heniochus diphreutes|ปลาโนรีเกล็ด]] (''Heniochus diphreutes'') เป็นต้น<ref>[http://www.nicaonline.com/articles/site/view_article.asp?idarticle=193 ปลาผีเสื้อ (BUTTERFLY FISH) ตอน 1]</ref>
 
ซึ่งปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อนั้น ในอดีตเมื่อเริ่มมีการ[[อนุกรมวิธาน]] ด้วยลักษณะปากที่ยื่นยาวทำให้มีความเข้าใจผิดว่า สามารถพ่นน้ำจับ[[แมลง]]ได้เหมือนเช่น [[วงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ|ปลาเสือพ่นน้ำ]] (Toxotidae) ซึ่งเป็น[[ปลาน้ำจืด]] โดยความผิดพลาดเกิดขึ้นเมื่อปี [[ค.ศ. 1764]] เมื่อมีการส่งตัวอย่างปลาในยัง[[กรุงลอนดอน]]เพื่อลง[[ภาพวาด|รูป]]ตีพิมพ์ลงใน[[หนังสือ]] ปรากฏเป็นภาพของปลาผีเสื้อนกกระจิบ และถูกบรรยายว่าสามารถพ่นน้ำจับแมลงกินเป็นอาหารได้ จึงถูกกล่าวอ้างต่อมาอย่างผิด ๆ อีกนาน<ref>ภวพล, คอลัมน์ Blue Planet จิ๊บ...จิ๊บ...นกกระจิบใต้ทะเล หน้า 102-106 นิตยสาร Aquarium Biz ปีที่ 1 ฉบับที่ 5: [[พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 2010|2010]]</ref>
 
==อ้างอิง==