ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขั้นตอนวิธีของเฮิร์ชเบิร์ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Guraadonz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Guraadonz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
การเชื่อมต่อระหว่าง[[ลำดับย่อยร่วมยาวสุด]] (Longest common subsequence (lcs)) และ[[ระยะทางที่ถูกแก้ไข]] (edit distance) สามารถแสดงในรูปสมการได้ดังนี้ d(''s1'',''s2'')=|''s1''|+|''s2''|-2lcs(''s1'',''s2'') ซึ่ง d(''s1'',''s2'') คือ[[ระยะทางที่ถูกแก้ไขของราเวนสตีน]] (Levenshtein edit distance) ที่จะหาต้นทุนที่น้อยที่สุดในการแปลงสายอักขระหนึ่งไปเป็นอีกสายอักขระหนึ่ง โดยมีทั้งการแทรก การแทนที่ การลบ หรือ การกระทำที่ไม่มีผล เป็นต้น
 
[[ขั้นตอนวิธีของเฮิร์ชเบิร์ก]] (Hirschberg’s algorithm) สามารถอธิบายการทำงานได้หลายวิธี เช่น ใช้[[ขั้นตอนวิธีแวงเกอร์ – ฟิชเชอร์]] (Wanger – Fisher algorithm)<ref>[www.csci.agh.edu.pl/42/]</ref> ในการมาใช้สร้าง[[ขั้นตอนวิธีของเฮิร์ชเบิร์ก]] (Hirschberg’s algorithm) แต่ในที่นี้เราจะอธิบาย[[ขั้นตอนวิธีของเฮิร์ชเบิร์ก]] โดยใช้[[การแบ่งแยกและเอาชนะ]] (divide and conquer) ของ[[ขั้นตอนวิธีของนีดเดิ้ลแมน – วันช์]] (Needleman – Wunsch algorithm)<ref>[http://www.csse.monash.edu.au/~lloyd/tildeAlgDS/Dynamic/Hirsch/ Hirschberg's algorithm<!-- Bot generated title -->]</ref> โดยปกติแล้ว[[ขั้นตอนวิธีของเฮิร์ชเบิร์ก]]นิยมใช้ในทางการคำนวณ[[ชีววิทยา]]เพื่อเปรียบเทียบของเหมือนของการเรียงตัวของ DNA และ โปรตีน
 
==ข้อมูลขั้นตอนวิธี==