ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
→‎เชิงอรรถ: สมเด็จโตองค์ใหญ่ อีกองค์ที่ วัดสามัคคีบรรพต ต.บางเสร่ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
บรรทัด 101:
 
{{fnb|3}} หากถือตามหลักฐานของพระครูกัลยาณานุกูลที่กล่าวว่ามารดาของท่านเป็นคนท่าอิฐ นางเกตุ ที่ขึ้นล่องเรือลงมาทำมาหากินแถบภาคกลางในช่วงหลังตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ ย่อมมีความสอดคล้องกับประวัติของเมืองอุตรดิตถ์<ref>วิบูลย์ บูรณารมย์. (2540). ตำนานเมืองอุตรดิษฐ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. อุตรดิตถ์: โรงพิมพ์พี.ออฟเซ็ทอาร์ท.</ref> ที่กล่าวว่าช่วงกรุงศรีแตก แถบอุตรดิตถ์ไม่ได้รับผลกระทบเพราะอยู่นอกทางเดินทัพ ทำให้แถบนี้มีคนแถบเมืองเหนือมาอาศัยหลบภัยมาก จนมีการตั้งชุมนุมพระฝางเป็นเมืองใหญ่ ในช่วงหลังชุมนุมเจ้าพระฝางแตกในปี พ.ศ. 2313<ref>__________. (ม.ป.ป.). พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ระหว่างจลาจล จุลศักราช 1129-1130. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.).</ref> เมืองท่าอิฐได้โรยราไปพักหนึ่งจนถึงช่วงต้นรัตนโกสินทร์ เมืองพระฝางซึ่งอยู่เหนือท่าอิฐที่เคยเป็นชุมนุมใหญ่ก็ได้ทรุดโทรมจนหมดความสำคัญลง<ref>จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2465). พระราชหัตถเลขา คราวเสด็จมณฑลฝ่ายเหนือ ในรัชกาลที่ 5 นับในหนังสือเรื่องเที่ยวที่ต่าง ๆเปนภาคที่ 5. กรุงเทพ : โรงพิมพ์ไทย. หน้า 47</ref> ทำให้ช่วงหลังครอบครัวมารดาของท่านจึงอพยพย้ายถิ่นมาทำมาหากินทางแถบเมืองใต้ (ภาคกลาง) แต่ช่วงหลัง ตำบลท่าอิฐก็เริ่มมีความเจริญสืบมาจนสมัยรัชกาลที่ 5
{{fnb|4}} สมเด็จโตองค์ใหญ่ อีกองค์ที่ วัดสามัคคีบรรพต ต.บางเสร่ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
 
== อ้างอิง ==