ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเตลูกู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต แก้ไข: ar:لغة تيلوغوية
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 22:
===พ.ศ. 2443 - ปัจจุบัน===
ยุคนี้เป็นยุคที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอังกฤษ การสื่อสารสมัยใหม่ สื่อสิ่งพิมพ์ ซึ่งเป็นผลมาจากการปกครองของอังกฤษ เริ่มมีสื่อสมัยใหม่เช่นโทรทัศน์ วิทยุและสื่อสิ่งพิมพ์ตั้งแต่ พ.ศ. 2483 มีการกำหนดรูปแบบมาตรฐานของภาษาเพื่อการสอนในโรงเรียน
== การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ ==
ภาษาเตลูกูส่วนใหญ่จะใช้พูดใน[[รัฐอานธรประเทศ]] และรัฐใกล้เคียง เช่น [[รัฐทมิฬนาฑู]] [[ปุทุจเจรี|พอนดิเชอร์รี]] [[รัฐกรณาฏกะ]] [[รัฐมหาราษฏระ]] [[รัฐโอริสสา]]และ[[รัฐฉัตติสครห์]] นอกจากนี้ยังใช้พูดใน[[บาห์เรน]] [[ฟิจิ]] [[มาเลเซีย]] [[มอริเชียส]] [[แอฟริกาใต้]] [[สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์]] [[สหรัฐอเมริกา]]และ[[อังกฤษ]] และเป็นภาษาที่ใช้พูดเป็นอันดับสองในอินเดีย รองจาก[[ภาษาฮินดี]]
==การเป็นภาษาราชการ==
ภาษาเตลูกูเป็นหนึ่งในภาษาราชการ 22 ภาษาของอินเดีย เป็นภาษาราชการของรัฐอานธรประเทศตั้งแต่การสถาปนารัฐเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2496 และยังเป็นภาษาราชการใน[[ตำบลยานัม]]ของสหภาพพอนดิเชอร์รี
== สำเนียง ==
ภาษาเตลูกูมีสำเนียงต่างกัยมากมาย สำเนียงมาตรฐานของภาษาเตลูกูเรียกสุทธภาษา
== ไวยากรณ์ ==
ในภาษาเตลุกุจะเรียงประโยคจาก ''กรรตะ'' కర్త (ประธาน), ''กรรมะ'' కర్మ (กรรม) และ ''กริยะ'' క్రియ (กริยา) ภาษาเตลุกุมีการใช้ ''วิภักถิ'' విభక్తి (บุพบท) ด้วย
เส้น 134 ⟶ 140:
 
=== คำสรรพนามที่ครอบคลุม/ไม่ครอบคลุม ===
ภาษาเตลุกุมีสรรพนาม "เรา" 2 คำ คือรวมผู้ฟัง (మనము; ''มะนะมุ'') กับไม่รวมผู้ฟัง (మేము; ''เมมุ'') เช่นเดียวกับ[[ภาษาทมิฬ]]และ[[ภาษามาลายาลัม]] แต่ลักษณะนี้ไม่พบใน[[ภาษากันนาดา]]สมัยใหม่
 
== คำศัพท์ ==