ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไตรจีวร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
moveCategory
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Buddhism in Belgium.JPG|thumb|250px|พระภิกษุในพระพุทธศาสนามีการนุ่งห่มจีวรด้วยสีต่างๆ ตามคติและวินัยในแต่ละนิกาย]]
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ไตรจีวร''' หรือ '''ผ้าไตร''' เป็นชื่อเรียกผ้านุ่งผ้าห่มที่[[พระสงฆ์]]ใช้สอย หมายถึงผ้า 3 ผืน ซึ่งมีทั้งผ้านุ่งและผ้าห่ม อันได้แก่สังฆาฏิ (ผ้าพาดบ่า) อุตราสงฆ์ (ผ้าจีวรสำหรับห่ม) และอันตรวาสก (สบงสำหรับนุ่ง) แต่นิยมเรียกรวมกันว่า '''ไตรจีวร''' โดยไตรจีวรเป็น[[ปัจจัย]]หรือ[[บริขาร]]ของพระสงฆ์อย่างหนึ่งในจำนวน ๘ อย่าง
 
นอกจากนี้ยังมีอีกคำหนึ่งที่ใช้เรียกไตรจีวรอย่างกว้างขวางคือคำว่า '''กาสาวะ''' หรือ '''กาษายะ''' ({{lang-pi|kasāva}} ''กาสาว''; {{lang-sa|काषाय kāṣāya}} ''กาษาย''; {{zh-all|t=袈裟|s=袈裟|p=jiāshā}}; {{nihongo|袈裟||kesa}}; {{เกาหลี|가사|ฮันจา=袈裟|MC2000=gasa|MR=}}; {{lang-vi|cà-sa}}) ซึ่งหมายเอาตามชื่อสีที่ใช้ย้อมทำจีวรเป็นหลัก โดยผ้ากาสาวะ หมายถึงผ้าย้อมน้ำฝาด ซึ่งก็คือผ้าไตรจีวรทั้งสามผืนนั่นเอง
 
== ลายคันนาบนจีวร ==
[[ไฟล์:Central Asian Buddhist Monks.jpeg|170px|thumb|left|จิตรกรรมรูปพระภิกษุจีนและพระภิกษุชาวเอเชียกลาง สมัยพุทธศตวรรษที่ 14-15 โปรดสังเกตลวดลายของจีวร ซึ่งเป็นลายสี่เหลี่ยมเลียนแบบลายตารางคันนา อันเป็นเอกลักษณ์ของจีวรในพุทธศาสนาทุกนิกาย ไม่ว่าจะทำด้วยวัสดุใดและเป็นสีใดก็ตาม]]
{{พุทธศาสนา}}
จีวรของพระสงฆ์ ประกอบด้วยผ้า ที่ตัดเป็นสี่เหลี่ยมผืนเล็กๆ มาต่อกัน จึงมีลักษณะเป็นผ้าที่เศร้าหมอง คือผู้อื่นมักไม่ต้องการไปตัดเย็บอีก เหมาะสมกับสมณะ ผ้าสี่เหลี่ยมผืนเล็กๆ ที่เย็บต่อกันนั้น ปรากฏลวดลายเป็นลายคันนา ออกแบบโดย[[พระอานนท์]] ดังปรากฏข้อความใน[[พระวินัยปิฎก]] ว่า
'''ไตรจีวร''' แปลว่า ผ้า ๓ ผืน นับเข้าใน[[บริขาร]] ๘ ของ[[ภิกษุ]]
 
"''อานนท์เธอเห็นนาของชาวมคธ ซึ่งเขาพูนดิน ขึ้นเป็นคันนาสี่เหลี่ยม พูนคันนายาวทั้งด้านยาวและด้านกว้าง พูนคันนาคั่นในระหว่างๆ ด้วยคันนาสั้นๆ พูนคันนาเชื่อมกันทาง ๔ แพร่ง ตามที่ซึ่ง คันนากับคันนา ผ่านตัดกันไปหรือไม่? ...เธอสามารถแต่งจีวรของภิกษุทั้งหลาย ให้มีรูปอย่างนั้นได้หรือไม่?''"
 
พระอานนท์ตอบว่า "''สามารถ พระพุทธเจ้าข้า.''"
ไตรจีวร คือ ผ้า ๓ ผืน ได้แก่
# '''[[จีวร]]''' คือ ผ้าห่ม เรียกว่า '''[[อุตราสงค์]]'''
# '''[[สบง]]''' คือ ผ้านุ่ง เรียกว่า '''[[อันตรวาสก]]'''
# '''[[สังฆาฏิ]]''' คือ ผ้าซ้อน (ปัจจุบันใช้พาดบ่า) เรียกว่า '''สังฆาฏิ''' ทับศัพท์
 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ทักขิณาคิรีชนบทตามพระพุทธาภิรมย์ แล้วเสด็จ กลับมาพระนครราชคฤห์อีก ครั้งนั้นท่านพระอานนท์แต่งจีวรสำหรับภิกษุหลายรูป ครั้นแล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคได้กราบทูลว่า
 
"''ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงทอดพระเนตรจีวรที่ข้าพระพุทธเจ้าแต่งแล้ว พระพุทธเจ้าข้า.''"
ผ้า ๓ ผืนนี้เรียกว่า '''ผ้าไตร''' บ้าง เรียกสั้น ๆ ว่า '''ไตร''' บ้าง เช่น
 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมิกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
: ''“ยกผ้าไตรมาตั้งหน้าพระหน่อย จะได้ถวายกัน”''
: ''“ไตรครองนี้ให้แม่ของ[[นาค]]มาอุ้มเวียนโบสถ์”''
 
"''ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานนท์เป็นคนฉลาด อานนท์ได้ซาบซึ้ง ถึงเนื้อความแห่งถ้อยคำที่เรากล่าวย่อ ได้โดยกว้างขวาง ...จีวรจักเป็นผ้าที่ตัดแล้ว เศร้าหมองด้วยศัสตรา สมควรแก่สมณะ และพวกศัตรูไม่ต้องการ''"
==อ้างอิง==
 
== ไตรจีวร ==
[[ไฟล์:Buddhist monk dresses in yellow rope.jpg|170px|thumb|left|การห่มจีวร]]
หลังจากพระอานนท์ถวายจีวรที่ตัดแต่งแล้ว ให้ทอดพระเนตร พระพุทธองค์ทรงพอพระทัย และอนุญาตให้ใช้ ผ้า 3 ผืน คือ สังฆาฏิชั้นเดียว จีวร และสบง
 
ต่อมาทรงอนุญาต '''ไตรจีวร''' คือ ผ้าสังฆาฏิสองชั้น จีวร และสบง ทั้งนี้เพื่อให้พระสงฆ์ ใช้ป้องกันความหนาวเย็น และรับสั่งว่า ภิกษุไม่พึงมีจีวรมากกว่านี้ (รูปใดมีมากกว่านี้ เป็นอาบัติ)
 
'''อติเรกจีวร''' คือ จีวรที่มีเกินกว่าผ้าที่อธิษฐานเป็นไตรจีวร ตามพระวินัย ภิกษุสามารถเก็บไว้ได้ไม่เกิน 10 วัน และสามารถทำเป็น '''วิกัปอติเรกจีวร''' คือ ทำให้เป็นสองเจ้าของ เพื่อจะได้ไม่ต้องอาบัติ เพราะเก็บไว้เกินกำหนด
 
ความเป็นมาของเรื่องอติเรกจีวรนี้ เนื่องจากมีผู้ถวายจีวรแก่พระอานนท์ แล้วท่านประสงค์จะเก็บไว้ ถวาย[[พระสารีบุตร]] ซึ่งขณะนั้นอยู่ต่างเมือง ประมาณ 10 วัน จึงจะเดินทางมาถึง พระอานนท์ได้เข้าไป ทูลถามพระพุทธองค์ว่า จะปฏิบัติอย่างไร กับอติเรกจีวรดี จึงทรงมีพุทธบัญญัติ ให้เก็บรักษาอติเรกจีวร ไว้ได้ไม่เกิน 10 วัน
 
== ผ้าที่ใช้ทอจีวร ==
สมัยต่อมา มีจีวรหลายประเภทเกิดขึ้น ภิกษุทั้งหลายไม่แน่ใจว่า จีวรชนิดใดที่ทรงอนุญาต จึงกราบทูลเรื่องนั้นต่อพระศาสดา พระพุทธองค์ทรงอนุญาตจีวร 6 ชนิด คือ
* จีวรทำด้วยเปลือกไม้
* ทำด้วยฝ้าย
* ทำด้วยไหม
* ทำด้วยขนสัตว์
* ทำด้วยป่าน
* ทำด้วยของเจือกัน
 
== สีจีวร ==
ไม่ได้มีกล่าวไว้แน่นอน แต่มีการกำหนดห้ามในสีต่าง ที่แวววาว เช่นสีแดง สีเขียว สีเหลือง สีขาว สีดำ แต่มีคำตรัสของพระพุทธเจ้าที่ทรงอุทานเมื่อครั้งพระสงฆ์มาประชุมกันเป็นจำนวนมากว่า "ภิกษุเหล่านี้ ดูช่างงดงามราวกับผ้ากัมพล (ผ้าสักหลาดหรือผ้าขนสัตว์) ที่มีสีเพียงดังสีใบไม้แห้ง (ปัณฑุปลาโส ใบไม้แห้ง)
 
== ตัวอย่างการห่มจีวร ==
 
<center>
<gallery caption= widths="170px" perrow="3">
File:Bhikkhu Analayo.jpg|การนุ่งจีวรแบบห่มคลุมของพระภิกษุนิกายเถรวาท สาย[[อมรปุระนิกาย]]
File:Phrabhavanaviriyakhun1.jpg|การนุ่งจีวรแบบห่มมังกรของพระภิกษุนิกายเถรวาท สาย[[มหานิกาย]]
File:MahaBuaSitting.jpg|การนุ่งจีวรแบบห่มลดไหล่ของพระภิกษุนิกายเถรวาท สาย[[ธรรมยุติกนิกาย]]
File:Monk in Burma.jpg|การนุ่งจีวรพระภิกษุในนิกายเถรวาทแบบพม่า
File:HsuanHuaShangRen.jpg|การนุ่งจีวรของพระภิกษุนิกายฉาน (เซน) แบบจีน
File:Japanese buddhist monk by Arashiyama cut.jpg|การนุ่งจีวรของพระภิกษุนิกายฉาน (เซน) แบบญี่ปุ่น
File:Wangdu and Puchung.jpg|การนุ่งจีวรของพระภิกษุนิกายวัชรยานแบบทิเบต
File:Korean monks.jpg|การนุ่งจีวรของพระภิกษุนิกายมหายานแบบเกาหลี
File:Buddhist Monk Service Hue Vietnam.jpeg|การนุ่งจีวรของพระภิกษุนิกายมหายานแบบเวียดนาม
</gallery>
</center>
 
== อ้างอิง ==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
* สุรีย์-วิเชียร มีผลกิจ "พระพุทธกิจ ๔๕ พรรษา".
* [http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=5&A=3899&Z=3926 มหาวรรค ภาค ๒ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๕]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://wbs.mbu.ac.th/th/index.php?option=com_content&task=view&id=42&Itemid=39&limit=1&limitstart=1 วิธีการห่มจีวรของนิกายเถรวาท]
 
{{บทความศาสนาพุทธ}}
 
[[หมวดหมู่:อัฐบริขาร]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ|ตไตรจีวร]]
[[หมวดหมู่:เครื่องแต่งกาย]]
 
{{โครงพระพุทธศาสนา}}
 
[[bjn:Kasaya]]
[[de:Kesa]]
[[en:Kasaya (clothing)]]
[[fr:Kesa]]
[[ko:승복]]
[[hr:Kasa]]
[[id:Kasaya]]
[[it:Kesa]]
[[ja:袈裟]]
[[nds:Kesa]]
[[pl:Kaszaja]]
[[vi:Cà-sa]]
[[zh:袈裟]]