ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศรัทธาในศาสนาพุทธ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ศรัทธา''' ([[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]] : ศฺรทฺธา) หรือ '''สัทธา''' ([[ภาษาบาลี|บาลี]] : สทฺธา) หมายถึงความเชื่อ ความเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผล
{{พุทธศาสนา}}[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
'''ศรัทธา''' ([[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]] : ศฺรทฺธา) หรือ '''สัทธา''' ([[ภาษาบาลี|บาลี]] : สทฺธา) หมายถึงความเชื่อ ความเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผล
 
== ศรัทธา ๔ ==
ศรัทธาในทาง[[พระพุทธศาสนา]]มีสี่อย่าง คือ
* '''กัมมสัทธา''' เชื่อ[[กรรม]] เชื่อกฎแห่งกรรม เชื่อว่ากรรมมีอยู่จริง คือ เชื่อว่า เมื่อทำอะไรโดยมีเจตนา คือ จงใจทำทั้งรู้ ย่อมเป็นกรรม คือ เป็นความชั่วความดีมีขึ้นในตน เป็นเหตุปัจจัยก่อให้เกิดผลดีผลร้ายสืบเนื่องต่อไป การกระทำไม่ว่างเปล่า และเชื่อว่าผลที่ต้องการ จะสำเร็จได้ด้วยการกระทำ มิใช่ด้วยอ้อนวอนหรือนอนคอยโชค เป็นต้น
เส้น 11 ⟶ 9:
* '''ตถาคตโพธิสัทธา''' เชื่อความตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า มั่นใจในองค์พระตถาคต ว่าทรงเป็นพระสัมมาสัมพุทธะ ทรงพระคุณทั้ง 9 ประการ ตรัสธรรม บัญญัติวินัยไว้ด้วยดี ทรงเป็นผู้นำทางที่แสดงให้เห็นว่า มนุษย์ คือเราทุกคนนี้ หากฝึกตนด้วยดีก็สามารถเข้าถึงภูมิธรรมสูงสุด บริสุทธิ์หลุดพ้นได้ ดังที่พระองค์ทรงบำเพ็ญไว้
 
== ธรรมะที่เกี่ยวข้อง ==
ศรัทธา หรือ สัทธาเป็นองค์ประกอบในหลายๆหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา ได้แก่
* '''[[พละ]]''' ๕ และ '''[[อินทรีย์]]''' ๕ ([[สัทธา]] [[วิริยะ]] [[สติ]] [[สมาธิ]] [[ปัญญา]])
เส้น 20 ⟶ 18:
* '''[[สัปปุริสธรรม]]''' ข้อแรก คือ สัทธัมมสมันนาคโต ประกอบด้วยธรรมเจ็ดประการ อันได้แก่ มี[[ศรัทธา]] มี[[หิริ]] มี[[โอตตัปปะ]] เป็น[[พหูสูต]] มีความเพียรอันปรารภแล้ว มี[[สติ]]มั่นคง มี[[ปัญญา]]
 
;หมายเหตุ:
(จะเห็นว่าส่วนใหญ่ จะขึ้นด้วยศรัทธา และมีปัญญากำกับอยู่ด้วย)
==สัทธาเจตสิก==
 
ในคัมภีร์พระ[[อภิธรรม]] มีการกล่าวถึงสัทธา ในลักษณะที่เป็น[[เจตสิก]](คือ ธรรมชาติที่อาศัยจิตเกิด) เรียกว่า '''สัทธาเจตสิก''' มีลักษณะดังนี้ คือ
== สัทธาเจตสิก ==
ในคัมภีร์พระ[[อภิธรรม]] มีการกล่าวถึงสัทธา ในลักษณะที่เป็น[[เจตสิก]] (คือ ธรรมชาติที่อาศัยจิตเกิด) เรียกว่า '''สัทธาเจตสิก''' มีลักษณะดังนี้ คือ
* มีความเชื่อในกุศลธรรม เป็น'''ลักษณะ'''
* มีความเลื่อมใส เป็น'''กิจ'''
บรรทัด 35:
* โฆสฺปปมาณ เลื่อมใสศรัทธาเพราะได้ฟังเสียงอันไพเราะ
* ธมฺมปฺปมาณ เลื่อมใสศรัทธาเพราะได้สดับฟังธรรมของผู้ที่ฉลาดในการแสดง
 
== ดูเพิ่ม ==
* [http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B0_%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B0 จากศรัทธาจนถึงการบรรลุสัจจะ]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
* [http://84000.org/tipitaka/dic/ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".]
* "พระอภิธัมมัตถสังคหะ".และ"อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา".
{{จบอ้างอิง}}
 
{{พุทธศาสนา}}[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]