ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาตากาล็อก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 47:
เครื่องหมาย ng และรูปพหูพจน์ mga เป็นตัวย่อ ออกเสียงว่า นัง และมางา ตามลำดับหมายถึง ของ เมื่อ
== สถานะการเป็นภาษาราชการ ==
{{บทความหลัก|ภาษาฟิลิปิโน}}
ภาษาตากาล็อกถูกประกาศให้เป็นภาษาราชการเมื่อโดยสถาบันไบก์นาบาโตเมื่อ พ.ศ. 2440 ใน พ.ศง 2478 ได้ยกเลิกการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาสเปนเป็นภาษาราชการ และได้พัฒนาภาษาราชการใหม่ขึ้นมา หลังจากการประชุมของสถาบันภาษาแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทน 7 คน จากส่วนต่างๆของฟิลิปปินส์ได้เลือกภาษาตากาล็อกให้เป็นพื้นฐานของการพัฒนาภาษาประจำชาติ ประธานาธิบดีมานูเอล เกซอนได้ประกาศเมื่อ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ว่าได้เลือกภาษาตากาล็อกเป็นพื้นฐานของการพัฒนาภาษาประจำชาติ ต่อมา ใน พ.ศ. 2482 ประธานาธิบดีมานูเอล เกซอน ได้เปลี่ยนชื่อภาษาประจำชาติ ที่มีพื้นฐานมาจากภาษาตากาล็อกว่า วีกัง ปัมบันซา (ภาษาประจำชาติ) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาปิลิปิโน ในปีเดียวกัน
[[Image:Tagalog Nation.png|thumb|บริเวณที่มีผู้พูดภาษาตากาลอกเป็นภาษาหลักในฟิลิปปินส์ โดยมีสำเนียงหลัก 4 สำเนียง: เหนือ, กลาง, ใต้, และ [[มารินดูเกว]].]]
 
ภาษาตากาล็อกถูกประกาศให้เป็นภาษาราชการเมื่อโดยสถาบันไบก์นาบาโตเมื่อ พ.ศ. 2440<ref>{{Citation |url=http://www.filipiniana.net/ArtifactView.do?artifactID=L00000000001&page=1&epage=1 |title=1897 Constitution of Biak-na-Bato, Article VIII |accessdate = 2008-01-16 |publisher = Filipiniana.net }}</ref> ใน พ.ศงศ. 2478 ได้ยกเลิกการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาสเปนเป็นภาษาราชการ และได้พัฒนาภาษาราชการใหม่ขึ้นมา<ref>{{Citation |url=http://www.chanrobles.com/1935constitutionofthephilippines.htm |title=1935 Philippine Constitution, Article XIV, Section 3 |accessdate = 2007-12-20 |publisher = Chanrobles Law Library}}</ref> หลังจากการประชุมของสถาบันภาษาแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทน 7 คน จากส่วนต่างๆของฟิลิปปินส์ได้เลือกภาษาตากาล็อกให้เป็นพื้นฐานของการพัฒนาภาษาประจำชาติ<ref name=MLQspeech>{{Citation |url=http://www.quezon.ph/wp-content/uploads/2007/05/mlq-speech-national-language-1.pdf |title=Quezon’s speech proclaiming Tagalog the basis of the National Language |author=Manuel L. Quezon III |publisher=quezon.ph |accessdate=2010-03-26}}</ref><ref name=Gonzalez/> ประธานาธิบดีมานูเอล เกซอนได้ประกาศเมื่อ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ว่าได้เลือกภาษาตากาล็อกเป็นพื้นฐานของการพัฒนาภาษาประจำชาติ ต่อมา ใน พ.ศ. 2482 ประธานาธิบดีมานูเอล เกซอน ได้เปลี่ยนชื่อภาษาประจำชาติ ที่มีพื้นฐานมาจากภาษาตากาล็อกว่า วีกัง ปัมบันซา (ภาษาประจำชาติ) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาปิลิปิโน ในปีเดียวกัน
ใน พ.ศ. 2516 ได้ประกาศยกเลิกการใช้ภาษาปิลิปิโนเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษ และได้พัฒนาภาษาประจำชาติขึ้นใหม่ ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อภาษาฟิลิปิโน
 
ใน พ.ศ. 2516 ได้ประกาศยกเลิกการใช้ภาษาปิลิปิโนเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษ และได้พัฒนาภาษาประจำชาติขึ้นใหม่ ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อภาษาฟิลิปิโน<ref>{{Citation |url=http://www.chanrobles.com/1973constitutionofthephilippines.htm |title=1973 Philippine Constitution, Article XV, Sections 2–3 |accessdate = 2007-12-20 |publisher = Chanrobles Law Library
}}</ref>
 
== ความแตกต่างระหว่างภาษาฟิลิปิโนกับภาษาตากาล็อก ==