ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัทธรรมปุณฑรีกสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
→‎เนื้อหา: ความในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรที่ยกมาไม่สอดคล้องกับบริบทของบทความ
บรรทัด 17:
== เนื้อหา ==
พระสูตรนี้มีด้วยกัน 3 ภาค หรือยาน ได้แก่ [[อนุพุทธะ|สาวกยาน (ศฺราวกยาน)]], [[ปัจเจกพุทธะ|ปัจเจกพุทธยาน (ปฺรตฺเยกพุทฺธยาน)]] และ[[พระโพธิสัตว์|โพธิสัตวยาน (โพธิสตฺตฺวยาน)]] แต่มิใช่หนทางที่ต่างกัน 3 สาย อันจะนำไปสู่เป้าหมาย 3 อย่างต่างกัน ทว่าเป็นหนทางหนึ่งเดียวที่จะนำไปสู่เป้าหมายหนึ่งเดียว
 
{{Quotation|นี จี เซ ซน จู ซัน ไม. อัน โจ นี คี. โง ชรี ฮตจึ. โช บุต ชั เอ. ยิน ยิน มู เรียว. โง ชี เอ มน. นัน เง นัน นิว. อิด ไซ โช มน. เฮียกุ ชี บุตจึ. โช ฟู โน ชี.
 
:ในเวลานั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้เสด็จออกจากสมาธิโดยสงบ แล้วได้ตรัสแก่พระสารีบุตรว่า "ปัญญาของพระพุทธทั้งหลายลึกซึ้งมากมายและมิอาจหยั่งได้ ประตูสู่ปัญญานี้ ยากที่จะเข้าใจและยากที่จะเข้าไปได้ ไม่มีพระสาวกหรือพระปัจเจกพุทธใดที่สามารถจะเข้าใจได้"
 
 
 
โช อี ชา งา. บุตจึ โช ชิน งน. เฮียกุ เซ็น มัน โนกุ. มู ชู โช บุตจึ. มู เรียว โอ โฮ.
 
:อะไรคือเหตุผลของเรื่องนี้ พระพุทธะพระองค์หนึ่งโดยส่วนพระองค์ได้อยู่ร่วมกับพระพุทธะร้อยพันหมื่นล้านจำนวนนับไม่ถ้วนพระองค์มาแล้ว และได้บำเพ็ญเพียรปฏิบัติธรรมจำนวนมากมายมาอย่างสมบูรณ์แล้ว
 
 
 
ยู เมียว โช ยิน. เมียว โช ฟู มน.
 
:พระองค์ได้บำเพ็ญเพียรอย่างกล้าหาญและอย่างวิริยะมาแล้ว อันทำให้พระนามของพระองค์เป็นที่รู้จักกันทั่วไป
 
 
 
โจ จู ยิน ยิน. มี โซ อู โฮ.
 
:พระองค์ทรงเข้าใจพระธรรมอันลึกซึ้งที่ไม่เคยได้รู้จักกันมาก่อนดีแล้ว
 
 
 
ซุย งี โช เช็ตจึ อี ชู นัน เง
 
:... และทรงสอนพระธรรมนั้นตามความเหมาะสม แต่เจตนาของพระองค์นั้นยากที่จะเข้าใจได้
 
 
 
ชรี ฮตจึ. โก จู โจ บุตจึ อี ไร. ชู จู อิน เน็น. ชู จู ฮี ยู. โค เอ็น งน เคียว. มู ชู โฮ เบ็น. อิน โต ชู โจ. เรียว รี โช จกุ.
 
:สารีบุตร ตั้งแต่เราได้บรรลุพุทธภาวะเป็นต้นมา เราได้แสดงคำสอนของเราอย่างกว้างขวางโดยการใช้เหตุต่าง ๆ และการอุปมาหลากหลาย และเรายังใช้กุศโลบายนับไม่ถ้วนในการชี้นำสรรพสัตว์ ทำให้สรรพสัตว์เหล่านั้น ละความยึดมั่นถือมั่นของตนเสีย
 
 
 
โช อี ชา งา. เนียว ไร โฮ เบ็น. ชี เค็น ฮรา มิตจึ. ไค อี งู โสะ กุ.
 
:ทำไมหรือ เพราะว่า พระตถาคตเจ้าทรงมีทั้งกุศโลบายและปัญญาบารมีอย่างครบถ้วน
 
 
 
ชรี ฮตจึ. เนียว ไร ชี เค็น. โค ได ยิน นน. มู เรียว มู เง. ริกี มู โช อี. เซ็น โง เจ ดัด ซัน ไม. ยิน นิว มู ไซ. โจ จู อิด ไซ. มี โซ อู โอ.
 
:พระสารีบุตร ปัญญาของพระตถาคตเจ้านั้น กว้างขวางและลึกซึ้งนัก พระองค์ทรงมีความกรุณามิอาจวัดได้ ปฏิภาณโวหารไม่มีขีดจำกัด พละ ความไม่กลัว ญาน วิโมกข์ สมาธิ และได้เข้าสู่ความไม่มีขอบเขตอย่างล้ำลึกแล้ว และได้ตื่นแล้วสู่พระธรรมอันไม่เคยได้บรรลุมาก่อน
 
 
 
ชรี ฮตจึ. เนียว ไร โน. ชู จู ฟุน เบ็ตจึ. เงียว เส็ด โช โฮ. งน จี นิว นัน. เอ็ก คา ชู ชิน. ชรี ฮตจึ. ชู โย งน ชี. มู เรียว มู เฮ็น. มิ โซ อู โฮ. บุด ชิจึ โจ จู.
 
:สารีบุตร พระตถาคตเจ้าทรงรู้การที่จะทำให้เป็นลักษณะเฉพาะชนิดต่าง ๆ และการที่จะแสดงคำสอนต่าง ๆ อย่างเชี่ยวชาญ พระวาจาของพระองค์อ่อนโยนสุภาพ และสามารถทำความยินดีให้แก่ทุกคนในที่ประชุม
 
:สารีบุตร โดยสรุป พระพุทธทรงเข้าใจอย่างสมบูรณ์แล้วซึ่งรสพระธรรมอันไม่จำกัด ไม่มีขอบเขต ไม่เคยได้บรรลุมาก่อน
 
 
 
ชี ชรี ฮตจึ. ฟู ชู บู เซ็ต. โช อี ชา งา. บุด โช โจ จู ได. ได อิชี เค อู.นัน เง ชี โฮ.
 
:แต่หยุดก่อน สารีบุตร เราจะไม่พูดต่ออีกแล้ว ทำไมหรือ เพราะว่าสิ่งที่พระพุทธทรงบรรรลุแล้วนั้น เป็นพระธรรมที่หายากที่สุดและเข้าใจยากที่สุด
 
 
 
ยุย บุตจึ โย บุตจึ. ไน โน คู ยิน. โช โฮ จิส โซ. โช อี โช โฮ. เนียว เซ โซ. เนียว เซ โช. เนียว เซ ไท. เนียว เซ ริกี. เนียว เซ ซา. เนียว เซ อิน. เนียว เซ เอ็น. เนียว เซ คา. เนียว เซ โฮ. เนียว เซ ฮอน มา คู เคียว โท.
 
:เฉพาะพระพุทธกับพระพุทธเท่านั้นที่สามารถเข้าใจได้อย่างถ่องแท้ในลักษณะที่เป็นจริงของปรากฏการณ์ทั้งหลาย กล่าวคือ เป็นลักษณะเช่นนี้ สันดานเช่นนี้ ตัวตนเช่นนี้ พลังเช่นนี้ การกระทำเช่นนี้ เหตุเช่นนี้ ปัจจัยสัมพันธ์เช่นนี้ ผลแฝงเช่นนี้ ผลสำแดงเช่นนี้ และต้นปลายสอดคล้องเข้ากันได้อย่างถี่ถ้วนเท่าเทียมกันเช่นนี้ของปรากฏการณ์ทั้งหลาย
 
|[[ไดซาขุ อิเคดะ]],บรรยายสัทธรรมปุณฑรีกสูตร บทกุศโลบายและบทการหยั่งอายุกาลของพระตถาคต : [[สมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย]], ๒๕๔๓}}
 
 
ภาษาต้นฉบับนั้นก็ไม่ปราฏชัด มีข้อเสนอว่า อาจแต่งเป็นภาษาถิ่น[[ปรากฤต]] จากนั้นจึงแปลเป็นภาษาสันสกฤต ทำให้มีเป็นที่แพร่หลายมากขึ้น และมีการแปลเป็น[[ภาษาจีน]]ถึง 6 สำนวน แต่สามฉบับแรกต้นฉบับสาบสูญไปแล้ว เหลือเพียงสามฉบับหลัง ที่หลงเหลือในปัจจุบันฉบับพระภิกษุธรรมรักษ์มีความเก่าที่สุดแปลในปี พ.ศ. 829 แต่ฉบับที่ได้รับความนิยมว่าแปลได้สละสลวยที่สุดคือฉบับของ[[พระกุมารชีพ]]ชาวเอเชียกลาง แปลเมื่อพ.ศ. 934 และฉบับแปลโดยท่านชญานคุปตะและท่านธรรมคุปตะ แปลในพ.ศ. 1144 เนื้อความของแต่ละฉบับมีความแตกต่างกันในบางส่วน สัทธรรมปุณฑรีกสูตรถือเป็นคัมภีร์หลักอีกเล่มหนึ่งที่มีการแปลเป็นภาษาจีน ทั้งยังเป็นพระสูตรยุคแรกสุด ที่ระบุคำว่า "[[มหายาน]]"ด้วย